Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีปัญหาสุขภาพ
ตกเลือดหลังคลอด
สาเหตุ
Trauma
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
Tissue
รกหรือส่วนของรกค้างในโพรงมดลูก
Tone
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Thrombin
ความผิดปกติของเกร็ดเลือด
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกทางช่องคลอด
มีอาการของการเสียเลือด ได้แก่ ซีด เหงื่อออก กระหายน้ำ
มดลูกไม่แข็ง หดรัดตัวไม่ดี
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดภาวะซีด อ่อนเพลีย เกิดการติดเชื้อหลังคลอดได้ง่าย
Sheehan syndrome ให้ไม่มีน้ำนมหลังคลอด ไม่มีประจำเดือน
ตัดมดลูกเพื่อหยุดการเสียเลือด
ช็อก ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ในรายที่มีการติดเชื้อในโพรงมดลูกหรือเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ให้ Oxytocin, ergonovine
การขูดมดลูก มักเป็นวิธีสุดท้ายที่แพทย์จะทำเพราะอาจทำให้เลือดออกมากขึ้น
เต้านมอักเสบ(Mastritis)
สาเหตุ
ให้ทารกดูดนมไม่ถูกวิธี
ผ่าตัดเต้านม
หัวนมแตก
อาการและอาการแสดง
ผิวหนังบริเวณเต้านมแดง ร้อน กดเจ็บ ปวดเต้านมมาก
มีการคั่งของน้ำนม น้ำนมออกน้อยลง
อาจมีไข้สูง 38.3-40 องศา หนาวสั่น หัวใจเต้นเร็ว
กาารรักษา
ให้ยาแก้ปวด
ให้นมบุตรได้ตามปกติ
การนวดคลึงเต้านมหรือประคบร้อนที่เต้านม
หลอดเลือดดำอักเสบ (Phlebitis)
สาเหตุ
การแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกติ
การคั่งของเลือด
การบาดเจ็บของหลอดเลือด
อาการและอาากรแสดง
มีอาการปวดน่องเล็กน้อย บวม แดง ร้อน
การอักเสบของหลอดเลือดดำที่ลึกลงไป จะมีไข้ต่ำๆ ผิวหนังร้อน แต่มองไม่เห็น คลำไม่ได้ กดหลอดเลือดดำส่วนลึกเจ็บ
Homan's sign ได้ผลบวก
การรักษา
ให้ยาต้านการจับตัวเป็นลิ่มเลือด มักให้ heparin ทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัดในรายที่อาการรุนแรง รักษาด้วยยาแล้วอาการไม่ดีขึ้น ผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออกหรือผผูกหลอดเลือด
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่
สาเหตุ
ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ปัสสาวะเต็มกระเพาะปัสสาวะ หรือมีอุจจาระมากใน rectum
มีเศษรกค้าง มีการติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูด
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกมากกว่าปกติ เป็นสีแดง มีกลิ่นเหม็น มีไข้
ถ้ามีการติดเชื้อในโพรงมดลูกร่วมด้วย อาจมีตกขาว ปวดหลัง ปวดท้อง
การรักษา
ขูดมดลูก ถ้าให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูกไม่ได้ผล
ให้ยาปฏิชีวนะถ้ามีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก นิยมให้ methargin 0.2 mg. วันละ 3 เวลาหลังอาหารและก่อนนอน 1-2 วัน
การติดเชื้อหลังคลอด (Puerperal infection)
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย
การบาดเจ็บจากช่องทางคลอด
PV บ่อยในระยะคลอด รกค้าง การล้วงรก
ภาวะซีด เบาหวาน น้ำหนักตัวน้อย
ภาวะผิดปกติทางด้านจิตใจหลังคลอด
อารมณ์เศร้าหลังคลอด
การรักษา
ไม่จำเป็นต้องใช้ยารักษา สามารถหายเองได้
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
การรักษา
ให้ยาที่ต้านภาวะซึมเศร้า ระหว่างให้ยากับนมบุตรได้
ทำจิตบำบัด
ให้คำปรึกษาทางจิตเวชแก่มารดาหลังคลอดและครอบครัว
โรคจิตหลังคลอด
การักษา
การให้ยาต้านโรคจิต
การช็อคไฟฟ้า ในรายรุนแรง
ให้ยาต้านซึมเศร้า ต่อเนื่องนาน 6 เดือน
การคั่งของเลือดที่แผลฝีเย็บ (Hematoma)
สาเหตุ
มีการบาดเจ็บจากการคลอด
เย็บซ่อมแซมฝีเย็บที่ฉีกขาด
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
อาการและอาการแสดง
ปวดแผลฝีเย็บมาก มีอาการกดเจ็บที่ฝีเย็บ
แผลฝีเย็บบวม มีสีม่วงคล้ำ
กาารรักษา
ขนาดก้อนเลือดใหญ่ >10 cm. ต้องกรีดขูดเอาก้อนเลือดออก หาตำแหน่งจุดที่เลือดออก ทำการผูกหรือเย็บซ่อมแซม
ก้อนเลือดเล็กอาจดูดซึมหายไปเอง ให้รักษาตามอาการและประคบด้วยความเย็น ให้ยาแก้ปวด
ก้อนเลือดคลั่งใต้แผลฝีเย็บขนาดใหญ่ รักษาโดยการตัดไหมที่เย็บไว้เพื่อเอาก้อนเลือดที่คั่งอยู่ออก
เต้านมเป็นฝี (Breast abscess)
อาการและอาการแสดง
คลำได้ก้อนที่เต้านมและกดเจ็บ
ผิวหนังบวมแดง
มีไข้หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
ผ่าตัดหรือระบายเอาหนองออกโดย
ใส่ drain และเปลี่ยนทุกวัน ทำแผลทุกวัน
ใช้เข็มเจาะดูด
ให้ยาบรรเทาปวด