Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม (Innovative Leadership), นภัสกร พันธวงค์…
ทฤษฎีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม
(Innovative Leadership)
ความหมาย
เป็นผู้นำองค์กรที่ใช้นวัตกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนนับว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างยิ่งส าหรับผู้นำ
เช่นเดียวกันกับสถานศึกษาซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญ
การเปลี่ยนแปลงสู่ยุคการศึกษา 4.0 ผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้นำต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนรู้
ของครูและการบริหาร
จัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
โดยใช้ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมอันส่งผลถึงคุณภาพการศึกษา
ผู้เชี่ยวชาญ
อรอนงค์โรจน์ วัฒนบูลย์
เป็นการปรับพฤติกรรมและลักษณะของ
ตนเองให้เหมาะสม โดยคำนึงถึงลักษณะของผูร่วมงาน
สถานการณสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและ
ทางออมกับการพัฒนาของหนวยงาน
สภาพความกดดันทางภาวะเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงในยุคข้อมูลข่าวสาร
การพัฒนาด้านเทคโนโลยี
ความต้องการทางสังคม
สภาพโลกไรพรมแดน
การแขงขันทางธุรกิจ
นอกจากนี้เดฟ และธันย่า โรสโคเรีย
การกระทำอย่างรวดเร็วและมุ่งมั่น
ฝักใฝ่การเปลี่ยนแปลงเพื่อความก้าวหน้า
ผู้นำด้านนวัตกรรมมองเห็นภาพลักษณ์ในอนาคตขององค์การ
ผู้นำแนวหน้า
จะต้องทำให้บุคลากรมีความกระตือรือร้น
ต้องเป็นผู้ที่ต่อสู้กับอุปสรรค
ผู้นำเชิงวัตกรรมควรมีคุณลักษณะที่
ส่งผลให้พนักงานปฏิบัติงาน
ขวัญชนกโตนาค และคณะ
องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม
2) องค์ประกอบบุคลิกภายนอก
1) องค์ประกอบบุคลิกภาพภายใน
3) องค์ประกอบการปฏิบัติงาน
4) องค์ประกอบมิตรสัมพันธ์
พฤติกรรมภาวะผู้นำจึงมีความส าคัญต่อทิศทางในการสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นในองค์กร
อรอนงค์ โรจน์วัฒนบูลย์
ทำการศึกษาเรื่อง การพัฒนาตัวแบบผู้นำ
เชิงนวัตกรรม
บริบทภายนอกองค์กรที่มีความเปลี่ยนแปลงมากขึ้นส่งผลกระทบต่อการปรับทิศทางและกลยุทธ์ในการนำองค์กร
กดดันให้ผู้นำมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมมากขึ้น
สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
และการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
บริบทภายในองค์กรด้านวัฒนธรรมองค์การและบรรยากาศภายในองค์กรมีผลกระทบต่อบทบาทของภาวะผู้นำ
รูปแบบองค์กรแห่งการเรียนรู้และระบบการจัดการความรู้ที่มีกระบวนการชัดเจน
ใช้เทคโนโลยีในการสร้างคลังความรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้
โดยย่อ
ผู้บริหารสถานศึกษาจึงควรมีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้น
ส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานให้ได้นวัตกรรมหรือสิ่งใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา
สามารถพัฒนาการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพบนฐานของการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่ไม่หยุดนิ่ง
โดยผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องให้
ความสำคัญความคิดสร้างสรรค์ มนุษยสัมพันธ์ ความสามารถในการเรียนรู้ และการแบ่งปันภาวะผู้นำ ซึ่งถือได้
เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม
สามารถคิดได้อย่างหลากหลายรูปแบบหลากหลายแง่มุม
ไม่ยึดติดกับกรอบการทำงานแบบเดิม
มีความกระตือรือร้น แสวงหาข้อมูลใหม่ๆ อย่างไม่หยุดนิ่ง
สามารถประยุกต์ใช้ในการท างานและการสร้างนวัตกรรม สร้างผู้น าในด้านที่เหมาะสมแก่ตัวบุคคลแบ่งอ านาจการตัดสินใจการทำงาน
นภัสกร พันธวงค์ 60181020224