Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (PHARMACODYNAMICS) - Coggle Diagram
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (PHARMACODYNAMICS)
เภสัชพลศาสตร์
(PHARMACODYNAMICS)
หมายถึง การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย (WHAT DRUG DOES TO THE BODY)หรอืการท่ียามีผลต่อร่างกายซึ่งเก่ียวข้องทั้งผลทางด้านชีวเคมีและสรรีวิทยาของ ยา กลไกท่ีทาให้เกิดผลทั้งด้านท่ีพึงประสงค์ คือฤทธิ์ในการรักษา และผลท่ีไม่พึงประสงคค์ คือ อาการข้างเคียงและพิษของยา
กลไกการออกฤทธ์ิ
(MECHANISM OF DRUG ACTION)
คือการออกฤทธิ์ของยา
ที่มีผลต่อร่างกาย แบ่งเป็น 2 ชนิด
1.ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ไม่จำเพาะเจาะจง เช่น ยาสลบ
2.ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เฉพาะเจาะจง
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (DRUG INTERACTION)
1.ปฏิกิริยาต่อกันของยาในลักษณะเพิ่มฤทธิ์(additive interaction)หรือเสริมฤทธิ์ (Synergistic interaction)
2.ปฏิกิริยาต่อกันของยาแบบต้านฤทธิ์กัน (antagonistic interactions)
3.ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกลไกในการขนส่งยา
4.ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการรบกวนสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท
อาการไม่พึงประสงค์และพิษของยา (ADVERSE DRUG REACTION AND DRUG TOXICITY)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADVERSE DRUG REACTION : ADR) หมายถึง การตอบสนองต่อ ยาท่ีเป็นอันตรายและเกิดข้ึนโดยไม่ได้ตั้งใจเมื่อใช้ในขนาดปกติในมนุษย์
อาการข้างเคียงจากการใช้ยาหรือ SIDE EFFECT หมายถึง ผลใดๆจากเภสัชภัณฑ์ที่ไม่ไดตั้งใจให้เกิดข้ึน เกิดในขนาดการใช้ยาปกติในมนุษย์ ซึ่งสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
พิษของยา (TOXIC EFFECT)
เก่ียวข้องกับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในระดับท่ีรุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาท่ีใช้
การจำแนกประเภทของADR ตามฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของยา
ADR TYPE A เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลท์
ADRTYPEBเป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคนจะเกิดีขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น
เภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetics)
Pharmacokinetic processes
Absorption การดูดซึม
site of administration
1 การให้ยาทางปาก (Oral administration)
2 การให้ยาโดยการอมใต้ลิ้น (Sublingual administration)
3 การให้ยาทางทวารหนัก (Rectal Administration)
4 การให้ยาโดยการทาภายนอก (Application to epithelial surfaces)
5 การให้ยาโดยการสูดดม (Inhalation)
6 การฉีดยาเข้าทางเส้นเลือดดำ (Intravenous (IV) injection)
7 Bioavailability
Distribution การกระจายตัว
Metabolism or Biotransformation การเปลี่ยนแปลงยา
Excretion การขจัดยา, ขับยาออก
ขนาดยามาตรฐาน (standard dose)
ได้จากการทดลองในอาสาสมัครที่ร่างกายสมบูรณ์และผู้ป่วยจำนวนหนึ่งซึ่งขนาดของยาดังกล่าวอาจไม่ใช่ขนาดยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยทุกคน ปัจจัยทางสรีรวิทยาและพยาธิสรีรวิทยาของผู้ป่วยแต่ละคนจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อ Pharmacokinetics และส่งผลต่อขนาดยาที่ใช้
Pharmacokinetic parameter ที่สำคัญในการปรับขนาดยาให้แก่ผู้ป่วย
1.Clearance (CL)
2.Volume of distribution (Vd)
3.Bioavailability