Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตาม ความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตาม
ความเชื่อของศาสนาอิสลาม
หลักการอันเป็นข้อบังคับ สำหรับมุสลิมทุกคน
จะต้องรู้ จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ เช่น นบีดาวูด(ดาวิด)นบีมูซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ พระเจ้าสร้างอดัม (อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5 เวลาต่อวัน
3.การถือศีลอด
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
การละหมาด หรือ สวด
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่ำ
5) เวลากลางคืน
1) เวลาย่ำรุ่ง
การถือศีลอด
•เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์
•เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้น จะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
•เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
•ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
•ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
การแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกาย โดยแยกออกเป็นเพศได้ดังนี้
•เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
•เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ จะต้องได้รับพิธีสุหนัต
•การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่า เป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญ ทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
•จะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
•จะมีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญแก่เด็ก
•ปัจจุบันนี้ เมื่อไปคลอดที่โรง
พิธีถือศีลอด
•เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติในเดือนรอมฎอน ตลอด 1 เดือน
•เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณี และการทำชั่วต่างๆ อย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
•มุสลิมทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย / มีประจำเดือน / สตรีมีครรภ์)
ข้องดเว้นจากการกระทำดังกล่าวต่อไป
1) งดการกินและการดื่ม
2) งดการมีเพศสัมพันธ์
3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
4) งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเหนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
มีผู้นับถือมากเป็นอับสอง...รองจาก ศาสนาคริสต์
•“อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจำนนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่า สถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียน เป็นที่พบปะชุมนุม ทำบุญ
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
•การบริจาคซะกาต (การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน)
คือ การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจำนวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับเมื่อครบปี
•เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
•เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปี แล้วไม่ทำการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทำผิดบทบัญญัติของอิสลาม
•ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือ ผู้ขัดสน (คนยากจน แม่หม้าย เด็กพร้า)
คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติมิตรตัดขาด ผู้มีหนี้สินล้นตัว (ไม่ใช่มีหนี้เพราะประพฤติมิชอบ)
ผู้พลัดถิ่น (ไม่สามารถกลับสู่ภูมิลำเนาเดิม) ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต
และเพื่อประโยชน์ต่อสังคมในวิถีของพระอัลลอฮ์ (เสาวนีย์, 2535)
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็น
ทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา
กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
แนวคิดสำคัญ: ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง การทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
•การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
•การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
•การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
•การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม....ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
•หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
•จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
•ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหาก
ต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
•มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
•ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
•ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม
เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย หรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาล
ไม่มีหมู
ไม่มีแอลกอฮอล์
•การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
•มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
•มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลทางจิตวิญญาณ
• จัดสถานที่ละหมาด
• มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
• การสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
•ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น
การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
(หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
•ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กำหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา การเจ็บป่วยเป็นสิทธิของพระอัลลอฮ์เพียงผู้เดียวเท่านั้น
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด หรือขอพรจากอัลลอฮ์
การขอพรจากพระอัลลอฮ์ พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส ปลอบโยนให้ผู้ป่วยมีอายุที่ยืนยาวและลดความทุกข์จากการเจ็บป่วย การขอพรเป็นสิ่งที่ควรกระทำ เพื่อให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
2) คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
3) จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
4) จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
5) อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
6) คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต จะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
7) ดำเนินการตามคำสั่งเสียได้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น