Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การบริหารยา 4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
บทที่ 4 การบริหารยา
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
การบริหารกินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการรักษา
รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
เพื่อกํารตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต แล้วเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพของ กระเพาะอาหารและลำไส้หรือกราฉีดไอโอดีนทึบรังสีเข้ร่างหลอดเลือดดํา
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุและน้ําหนักตัว เด็กเล็กๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่ ผู้สูงอายุมากๆ กราทำงานของตับ และไตลดลง จึงทําให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น
เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ําหนักย่อมมากกว่า
กรรมพันธุ์ บรงคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด
ภาวะจิตใจ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบําบัดบรงรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก
โดยมีสาเหตุมาจากจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทสงหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
เวลาท่ีให้ยา ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ําหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
1 กิโลกรัม
= 1000 กรัม (gm) 1 กรัม
1 มิลลิกรัม * = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม * = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 กรัม. = 1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
ระบบมาตราตวงวัดประจําบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด
ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
OD = วันละ 1 ครั้ง
bid= วันละ 2 ครั้ง
tid= วันละ 3 ครั้ง
qid = วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs = ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
O (รับประทานทางปาก)
M (เข้ากล้ามเนื้อ)
SC (เข้าชั้นผิวหนัง)
V (เข้าหลอดเลือดดำ)
ID (เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง)
เวลาการให้ยา
a.c. (ก่อนอาหาร)
p.c. (หลังอาหาร)
h.s. (ก่อนนอน)
p.r.n. (เมื่อจำเป็น)
Stat (ทันทีทันใด)
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
คําสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous) เป็นคําสั่งที่ สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคําสั่งระงับ (discontinue)
คําสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day) เป็นคําสั่งที่ใช้ได้ใน 1 วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
คําสั่งที่ต้องให้ทันที (Stat order) เป็นคําสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
คําสั่งที่ให้เมื่อจําเป็น (prn order) เป็นคําสั่งที่กําหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการ บางอย่างเกิดขึ้น
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางปาก (oral) ยาที่ให้ผู้ป่วยรับประทานทางปาก โดยยาจะดูดซึมทางระบบทางเดิน อาหารและลําไส้ ชนิดของการปรุงยามีลักษณะต่างๆ
ทางสูดดม (inhalation) ยาที่ใช้พ่นให้ผู้ป่วยสูดดมทางปากหรือจมูก โดยดูดซึมทางระบบ ทํางเดินหายใจ
ชนิดของกราปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ
ทางเยื่อบุ (mucous) ยาที่ใช้สอดใส่หรือหยอดทางอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าทาง เยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น ชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆกัน
ทางผิวหนัง (skin) ยาที่ใช้ทําบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายตามผิวหนัง ชนิดของกํารปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึม เข้าทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
ทางหลอดเลือดดำ (intravenous) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดําของผู้ป่วย โดยเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนัง
คำนวณขนาดยา
การคํานวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา มีหลักการคํานวณดังนี้ ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน)
= ขนาดควมาเข้มข้นของยาที่มี (หาร)
ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
พยาบาลวิชาชีพจะต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้ป่วยและวิชาชีพมากยิ่งขึ้นต้องยึดหลักถึง 11 ข้อ
Right documentation (ถูกการบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับควรมยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำเช่นนั้น
Right route (ถูกวิถีทาง) คือให้ยาถูกทาง โดยการให้ยาแก่ผู้ป่วยตามที่แพทย์สั่งการรักษา
Right time (ถูกเวลา) คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
Right History and assessment คือการซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยาโดยการสอบถาม
ข้อมูล/ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนให้ยา
Right dose(ถูกขนาด)คือการให้ยาถูกขนาดโดยการจัดยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน จะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม
Right drug (ถูกยา) คือให้ยาถูกชนิด โดยการอ่านชื่อยําอย่างน้อย 3 ครั้ง
Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้ง ชื่อยาที่จะให้ทางที่จะให้ยาผลการรักษาผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคนหรือถูกตัวผู้ป่วย
หลักสำคัญในการให้ยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และกราฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ตรวจสอบคําสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยา
บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยา
ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
ในกรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้หัวหน้าเวรทราบเพื่อหาทางแก้ไข
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
อุปกรณ์ในการให้ยาทางปาก
1) ถ้วยยาหรือSyringe
2) น้ําเปล่า หรือ น้ําส้ม หรือน้ําหวานแทนน้ํา (หรกไม่มีข้อห้าม)
3) ถาดหรือรถใส่ยา
4) แบบบันทึกการให้ยา
การพยาบาลเพื่อให้ยาได้ถูกหลักการ
1) ดูเบอร์เตียงชื่อนามสกุลผู้ป่วยในMARให้ตรงกัน
2) ดูชื่อยาขนาดยาเวลาที่ให้ในMARของผู้ป่วยแต่ละราย
3) เตรียมยาให้ตรงกับMARของผู้ป่วยแต่ละราย
4) อ่านฉลากยาให้ตรงกับMARของผู้ป่วยแต่ละรายดูวันที่หมดอายุของยา
5) เทยาหรือรินยาให้ได้ตรงตามจำวนกับขนาดของยาใน MAR ของผู้ป่วยแต่ละราย
การเตรียมยาตามขั้นตอน
บันทึกในแผนการพยาบาลและในใบ MAR ทุกครั้งหลังให้ยาหลังให้ยาต้องลงบันทึก วันที่ เวลา และลายมือชื่อของผู้ให้ยาลงในใบ MAR
ยําน้ํา ให้หันป้ายยาหรือฉลากยาหันเข้าหาฝ่ามือเพื่อ
ป้องกันยาหกเปื้อนป้ายยาหรือ ฉลากยาทําให้ป้ายยาหรือฉลากยาเลอะเลือนได้
ยาชนิดUnitdose(ยาที่จัดมาเป็นแบบวันต่อวัน)
หยิบยาใส่ถ้วยยาจํานวนตามที่
แพทย์สั่ง ยาที่หุ้มมาด้วย Foil ให้แกะยาที่เตียงของผู้ป่วย Foil ที่ห่อหุ้มยาไว้จะช่วยป้องกันไม่ให้ยาโดน แสงเพื่อคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพของยา
ยาชนิดMultidoseค่อยๆเทยาจากซองยาหรือขวดที่บรรจุยาหรือFoilโดยที่ไม่ให้ มือสัมผัสยา เพื่อป้องกันสิ่งสกปรกจากมือปนเปื้อน
การให้ยาเฉพาะที่
การสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือ ละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การให้ยาทางตา (Eye instillation) เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติด เชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคํานึงถึงความสะอาดเป็นสําคัญ
การให้ยาทางหู (Ear instillation) เป็นกราหยอดยเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้ เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
การหยอดยาจมูก (Nose instillation) ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยําบําลยกปีกจมูก ผู้ป่วยข้รงที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้ว จํากนั้นให้ผู้ป่วยอยู่ในท่า เดิมประมาณ 5 -10 นาที เพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
กํารเหน็บยา เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ดเข้าทรงเยื่อบุตามอวัยวะต่างๆเพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคําสั่งแพทย์ พร้อมกับ เช็คยาและจํานวนให้ตรงตามฉลากยา
การซักประวัติ จะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สี
แสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบ OPD card และดูรายละเอียดใน OPD card ร่วมด้วยทุกครั้ง
เมื่อมีคําสั่งใหม่ หัวหน้ําเวร ลงคําสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจํากความผิดพลาดบุคคลโดยเฉพาะยาน้ํา
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคําสั่งแพทย์ให้ตรงกัน และดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่า NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้
อธิบายและแนะนําผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคําสั่งสํารน้ํา+ยา B co 2 ml ให้เขียนคําว่า +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัว
ใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ําให้ชัดเจน
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยาให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบ MAR ทุกครั้ง
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา หรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
สามารถร่วมพิจารณาเลือกใช้ยาได้อย่างสมควรตามความจําเป็น (Consider the options)
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยาโดยพิจารณาข้อมูลทรงเลือกที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
สามารถติดตามผลการรักษาและรายงานผลข้างเคียงที่อจากเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe safely)
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถพัฒนําความรู้ความรู้ความสามารถในการใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribing
practice)
สามารถทํางานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(Prescribe as part of a team)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ ก่อนให้ยาต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยและยาที่จะให้ผู้ป่วย ต้องทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ยาภาวะขณะที่จะให้ยา เช่น งดน้ํางดอาหารทางปากอยู่ หรือการได้รับสารน้ําหรือ ให้เลือด สิ่งเหล่านี้ทําให้พยาบาลอาขจะต้องเปลี่ยนวิธีารให้ยา
การวินิจฉัยการพยาบาล เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนํามาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา
การวางแผนการพยาบาล หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาหรือข้อบ่งชี้ในการให้ยาแล้วทําการ วางแผนหําวิธีการว่าจะให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วน
การปฏิบัติการพยาบาล เป็นการปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลัก ความถูกต้อง 7 ประกําร
การประเมินผล เนื่องจากยาที่ให้นอกจากจะมีผลทางการรักษา แล้วยังอาจทําให้เกิดปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้