Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย
ตา
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทำให้ตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
หู
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การทำความสะอาดหูที่ถูกต้อง คือต้องไม่เอาสำลีล้วงเข้าไปในหูมา ควรทำแค่ภายในหูด้านนอกเท่านั้น เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่างๆ
เล็บ
จุดประสงค์
ทำให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
จมูก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
ปากและฟัน
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาดมีความชุ่มชื้น
กำจัดกลิ่นปาก ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือกและกระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น ว่ามีการติดเชื้อหรือไม่
การทำความสะอาดฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคง และเริ่มทำความสะอาดฟันและปาก
เส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผมและหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ผิวหนัง/การอาบน้ำ(Bathing)
มีการแบ่งตามสภาวะของผู้ป่วย
อาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial Bath)
ใช้กับผู้ป่วยที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง แต่ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน เช่นบริเวณหลัง เราต้องจัดท่าให้ผู้ป่วยข้างเตียงหรือบนเตียงแล้วเช็ดทำความสะอาดให้
อาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงแบบสมบูรณ์ (Complete bed bath)
ใช้กับผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรก และสร้างเสริมความมั่นใจให้กับผู้ป่วย
ให้ผู็ป่วยสบายและรู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่างๆ
สังเกตความผิดปกของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตและป้องกันการเกิดแผลกดทับ
อาบน้ำที่ห้องน้ำ(Shower)
ใช้กับผู้ป่วยที่สามารถลุกขึ้นจากเตียงเองได้ โดยมากจะใช้การอาบน้ำฝักบัว เปิดน้ำในอุณหภูมิที่เหมาะสม และต้องระวัง คอยสังเกตว่าผู้ป่วยมีอาการผิกปกติอะไรบ้างเพื่อทำการช่วยเหลือให้ทันท่วงที
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
หลักการนวดหลัง
จัดท่าให้สะดวกสบายเหมาะแก่การนวด ไม่นวดแรงจนเกินไปและไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบของแผลหรือบริเวณที่มีการบาดเจ็บ ใช้เวลาประมาณ 5-10 นาที
การนวดมีลำดับตามขั้นตอนดังนี้
Stroking
การลูบตามแนวยาวใช้ฝ่ามือทั้งสองลูบขึ้นมาจาก้นกบตามกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอ แล้วอ้อมไปด้านข้างถึงสะโพก ทำซ้ำ 3-5 ครั้ง
Friction
ใช้ฝ่ามือลูบไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อ ทำอย่างน้อย 12 ครั้ง
Kneading
การบีบนวดกล้ามเนื้อ
Clapping
ห่อมือแล้วตบเบาๆ ให้ทั่วหลัง ทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
Beating
กำมือหลวมและทุบเบาๆ บริเวณแก้มก้น
Hacking
ใช้สันมือสับเบาๆ บริเวณช่วงล่าง ประมาณ 10 ครั้ง
การลูบตัวลดไข้
เป็นการระบายความร้อนออกจากร่างกายของผู้ป่วย
จุดประสงค์
ลดอุณหภูมิของร่างกาย
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
คลายเครียด ผ่อนคลาย และลดการกระสับกระส่าย
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกหญิง
โดยปกติจะชำระให้วันละ - ครั้ง และหลังจากถ่ายอุจจาระ เรียกสั้นๆว่า P-care
การทำความสะอาด
จัดผู้ป่วยนอนหงาย คลุมผ้าตามแนวขวางถึงเอว ให้ผู้ป่วยชันเข่าขึ้น แล้วเหน็บผ้าไว้ เพื่อทำความสะดวกในการทำความสะอาด
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื่อในผู้ป่วยที่มีการสอดสายปัสสาวะทิ้งไว้
เสริมสร้างความสุขสบายให้กับผู้ป่วย
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
การทำความสะอาด
จัดท่าผู้ป่วยนอนหงาย เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์ และเริ่มทำความสะอาด
ความหมายและความสำคัญ
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
การดูแลตัวเองให้สะอาด ปราศาจากสิ่งสกปรกทั่วทั้งร่างกาย โดยจะขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าและการกระทำให้ชีวิตประจำวัน
ความสำคัญ
เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย ขาดความมั่นใจ ให้กลับมามีความสุขทั้งกายและใจอีกครั้ง
สุขอนามัย(Hygiene)
หลักการและความรู้ของการรักาาสุขภาพและการป้องกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
การศึกษา
มีความรู้ในด้านการการดูแลรักษาความสะอาดตนเองและสิ่งแวดล้อมไม่พอ ต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติตามด้วยเช่นกัน
เศรษฐกิจ
หากอยู่ในช่วงที่เศรฐกิจตกต่ำ หรือ มีรายได้ไม่เพียงพอ
จะส่งผลให้เกิดการทำงานหนักจนไม่มีเวลาดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้
ภาวะสุขภาพ
เมื่อเกิดการเจ็บป่วยรุนแรงจะทำให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลถูกตัดทอนออกไป
อาชีพ
ในคนที่ทำอาชีพที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจ
และให้ความสำคัญกับการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการดำเนินชีวิต
เพศ
เพศหญิงต้องการความนุ่มนวล ละเอียดอ่อน ในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ถิ่นที่อยู่
การดำรงชีวิตในถิ่นที่อยู่ที่ต่างกัน จะส่งผลให้เห็นถึงการดูแลสุขภาพที่ต่างกันอย่างชัดเจน
อายุ
:
เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตัวเองต้องมีผู้ปกครองช่วย และผู้สูงอายุที่ความสามารถในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ภาวะเจ็บป่วย
การเจ็บป่วยกับโรคร้ายต่างๆทำให้ร่างกายอ่อนแอ ทำให้การทำสุขอนามัยส่วนบุคคลเป็นไปได้ยาก ต้องมีคนมาช่วยดูแล
สิ่งแวดล้อม
ในช่วงที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้เกิดเหงื่อและกลิ่นตัว จึงได้รับการเอาใจใส่ในการดูแลสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
เป็นเรื่องส่วนตัวที่ได้รับการดูแลสั่งสอนมาตั้งแต่เด็ก เช่น ห้ามสระผมเวลามีไข้ เป็นต้น
ความชอบ
เป็นเรื่องส่วนตัวที่ได้รับการฝึกอบรมมาตั้งแต่เด็กๆ ทั้งที่มาจากครอบครัว โรงเรียน จนเกิดนิสัยการรักการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ และการนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia
การนอนหลับมาก หรือ ง่วงนอนมากกว่าปกติในสถานการณ์ที่ไม่ควรหลับ
เฃ่น หลับในห้องประชุม หลับขณะรับประทานอาหาร เป็นต้น
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือตื่นมาหลับ
อาการขากระตุกขณะหลับ ศีรษะโขกกำแพง
อาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะผีอำ ภาวะฝันร้าย
ความผิดปกติของการตื่น
การเดินละเมอ ฝันร้าย
อื่นๆ
การนอนกัดฟัน การกรน การไหลตาย ฉี่รดที่นอน
Insomnia
Short term insomnia
นอนหลับไม่เพียงพอติดต่อกันไม่เกิน 3 Weeks มีสาเหตุจากความเครียด
Chronic insomnia
การนอนไม่หลับติดต่อกันนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
เกิดจากโรคซึมเศร้า
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงของยารักษาโรคบางชนิด เช่น สเตียรอยด์
โรคของการนอนหลับโดยตรง เช่น อาการขากระตุกระหว่างหลับ
Transient insomnia
การนอนไม่พอที่เป็นแค่ช่วงสั้นๆ 3-5 วัน เป็นผลมาจากความเครียด
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
การนอนไม่พอช่วง REM
ความคิด ความรู้บกพร่อง ประสานหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้ร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
การนอนไม่พอในช่วง NREM
เมื่อยล้า คลื่นไส้ ท้องผูก เวียนหัว ภูมิต้านทานลดลง
การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสุขสบายและความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ทั้งในบ้านเรือน ที่พักอาศัย และโรงพยาบาลเมื่อเกิดการเจ็บป่วย
ประกอบด้วย ความสะอาด ความพร้อมของอุปกรณ์ อุณหภูมิ เสียง กลิ่น แสงสว่าง ควมเป็นส่วนตัว และ ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position
เป็นท่าสำหรับการทำความสะอาด P-care และเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต
Fowler's position
เป็นท่านอนราบหัวสูง สะดวกสำหรับผู้ป่วยที่ทำกิจกรรมบนเตียง
Prone position
ท่านอนคว่ำสำหรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ช่วยให้หายใจปกติ ช่วยให้น้ำลายและเสมหะไหลออก ไม่ปิดกั้นทางเดินหายใจ
Lateral position
ท่านอนตะแคง ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
Sitting position
เป็นท่านั่งที่ให้ผู้ป่วยได้เปลี่ยนอิริยาบถ มีที่เท้าแขนให้ด้วย
ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนหลับและการพักผ่อน
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังจากได้รับยาต่างๆ
ภาวะไข้หลังการผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆส่งผลให้เป็นการรบกวนคุณภาพการนอน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยสูงอายุ ในวัยสูงอายุการนอนหลับขะลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
เพศ
ผู้หญิงจะมีการตอบสนองกับสิ่งเร้าได้ง่ายกว่าผู้ชาย จึงส่งผลให้มีการนอนไม่เพียงพอเกิดขึ้นได้ง่าย
ปัจจัยภายนอก
เสียง
เสียงที่เกิดจากการทำกิจกรรมต่างๆของพยาบาล
อุณหภูมิ
อุณหภูมิที่สูงหรือต่ำไปจะทำให้ผู้ป่วยกระสับกระส่ายมากขึ้น และตื่นบ่อย
แสง
รบกวนการทำงานของร่างกาย ทำให้ร่างกายสับสนว่าควรทำงานหรือไม่
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัดไม่สุขสบายจึงส่งผลต่อคุณภาพการนอน
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การรักษาผู้ป่วยตามเวลาเป็นการรบกวนผู้ป่วย จึงต้องมีการจัดสรรเวลาเพื่อลดการรบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
อาหาร
การทานอาการที่มีสารทริพโทแฟ็นที่มีในนมจะช่วยส่งเสริมการนอน
ไม่ควรทานอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน เพราะจะทำให้ร่างกายตื่นตัวและนอนไม่หลับ
ยา
ยาที่รบกวนการนอน คือ ยาทาบิทูเรต
วงจรของการนอนหลับ
Non-rapid eye movement sleep: NREM
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ไม่ได้ยินเสียงรอบข้าง แต่ไม่ฝันและถูกปลุกได้ง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
การเคลื่อนไหวของตาหยุดลง ไม่สามรถตื่นได้โดยง่ายแม้มีสิ่งเร้ามารบกวน ใช้เวลา 20 - 30 นาที
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ใช้เวลา 30 วินาที-7 นาที ได้รับการกระตุ้นเล็กน้อยจะตื่น
ระยที่ 4 (หลับลึก)
มีการละเมอหรือฝันร้ายเกิดขึ้น
ระยะนี้การเต้นของหัวใจจะลดลง 60 ครั้งต่อนาที
GH จะหลั่งในช่วงนี้
rapid eye movement sleep: REM
ช่วงหลับฝัน
ช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆหยุดทำงานกันหมด ยกเว้นระบบการทำงานของหัวใจ
การทำเตียง
Open/unoccupied bed
การทำความสะอาดระหว่างที่ผู้ป่วยไปทำกิจกรรมการรักษา
Occupied bed
การทำเตียงผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกจากเตียงได้
Close bed
การทำเตียงหลังจากที่ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลแล้ว โดยจะทำความสะอาดฆ่าเชื้อ และ นำผ้าปูชุดใหม่มาเปลี่ยน
Surgical/ether/anesthetic bed
การทำความสะอาดเตียงและจัดเตียงสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบหรือหลังผ่าตัด
ความหมายและความสำคัญ
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
พักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยอยู่บนเตียงไม่ให้ร่างกายของแรงในกิจกรรมใดใด
ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest
พักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยอยู่บนเตียงและทำกิจกรรมต่างๆได้
การนอนหลับ
การเปลี่ยนแปลงอวัยวะต่างๆของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
ระดับการรับรู้ลดลง
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าลดลง
การพักผ่อน (Rest)
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย อวัยวะต่างๆ โดยการนั่งเฉยๆชั่วขณะหนึ่ง
การผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึงไม่วิตกกังวล สงบ ไม่มีความเครียดทางอารมณ์
ความสำคัญในการพักผ่อนนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมาใหม่
สงวนพลังงานไว้ใช้ในตอนตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
หงุดหงิด โมโหง่าย และเกิดความสับสน
ควบคุมตัวเองต่อสิ่งเร้าได้ลดลง
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
การทำกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง
สมาธิไม่ดี แก้ปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย
มีอาการเมื่อยล้า ทนต่อความเจ็บปวดได้น้อย กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ตัดสินใจช้า ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ง่าย
ผลกระทบทางสังคม
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
มีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัวลดลง
กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขจากการได้รับการอาบน้ำ สระผมบนเตียงเป็นการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวัน
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีความสุข หลังจากได้รับการอาบน้ำ สระผม
ผู้ป่วยมีความพึงพอใจจากการได้รับการอาบน้ำ สระผม
การวางแผน
วางแผนให้การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
อาบน้ำสระผมบนเตียง
จัดเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำ สระผมบนเตียงให้ครบแล้วนำไปที่เตียงผู้ป่วย
จัดเตรียมเสื้อผ้าชุดใหม่ ผ้าปู และปลอกหมอน อย่างละ 1 ชุด
การปฏิบัติการพยาบาล
บอกผู้ป่วยให้ทราบ
ให้บริการสระผมให้ผู้ป่วยตามขั้นตอน
ให้บริการอาบน้ำบนเตียงให้กับผู้ป่วยตามขั้นตอน
เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนใหม่
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกการพยาบาล
วินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวันได้เนื่องจากมีภาวะความจำเสื่อมและไม่สนใจตัวเอง (ในกรณีที่ผู้ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์)
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินความสะอาดของเส้นผม
ประเมินความสะอาดของผิวหนังของร่างกาย
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องและเป็นไปตามขั้นตอนการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนหรือไม่
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินภาวะสุขภาพ
S
ญาติผู้ป่วยบอกว่า "ผู้ป่วยทานอาหารได้น้อยมา 2 อาทิตย์ เมื่อ 2 วันก่อนไม่ยอมรับประทานอาหาร"
O
หญิงไทยสุงอายุ ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ มีความจำเสื่อม ไม่สนใจสิ่งเแวดล้อมข้าง อ่อนเพลีย ซีด ผอม แขนซ้าย On 15%D/N/2 100 ml v drip in 30 drop/min เหลือ 500 ml