Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
ดาว
เครื่องหมายนำทาง
เดือนครึ่งเสี้ยว
เครื่องหมายของการเวลา
ความหมาย
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิาอาราเบีย
มีผู้นับถือมากเป็นอันดับสอง รองจากศาสนาคริสต์
อิสลาม แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการน้อมรับ ต่อพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์
ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม
ศาสนสถานของชาวมุสลิม คือ มัสยิต หรือ สุเหร่า
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540
ประกอบด้วย จุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการและกรรมการ
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
นิกายซุนนี (Sunni)
มีผู้นับถือ 75-90%
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
พวกซุนนีถือว่าภายหลังที่นบีมูฮัมหมัดเสียชีวิตแล้ว มีกาหลิบที่สืบต่อ เพียง 4 คนเท่านั้น
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์
พบมากในประเทศสาธารณรัฐตุรกี ซาอุดิอาราเบีย แอฟริกา อินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์
(Shiah)
มีผู้นับถือ 10-20%
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
เชื่อว่า อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิต ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมูฮัมหมัด
อิหม่าม เป็นผู้หมดมลทินจากบาป และเป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
พบมากในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
หลักการอันเป็นข้อบังคับ
หลักศาสนา ความเชื่อในศาสนา
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม
ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่ที่พึงปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์อื่นๆ
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิต
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา
(อิบาดะห์)
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
เวลาเย็น
เวลาพลบค่ำ
เวลากลางวัน
เวลากลางคืน
เวลาย่ำรุ่ง
การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้า
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัว
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้นทานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว
ผู้ถือศีลอดจะรับปรัทานอาหาร 2 มื้อ คือ
มื้อดึกก่อนฟ้าสาง และ มื้อค่ำหลังตะวันลับขอบฟ้า
ทำให้เกิดกระประหยัดทั้งอาหารของโลก และสิ่งฟุ่มเฟือยต่าง ๆ
จะใช่เวลาถือศีลอดตลอด 1 เดือน (เดือนรอมฎอน)
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์
งานการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่าง ๆ
ข้อยกเว้น
บุคคลที่อยู่ระหว่างเดินทาง
หญิงขณะที่มีรอบเดือนและหลังคลอด
บุคคลที่ทำงานหนัก เช่น กรรมกรแกบหาม
หญิงที่ตั้งครรภ์
คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
คนชรา
การบริจาคศาสนทานซะกาต
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
เพื่อปลูกฝังให้มุสลิม เป็นผู้ที่มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคม
เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์
คือ การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน
เพื่อผดุงสังคม ลดปัญหาช่วงว่างระหว่างคนรวยและคนจน
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน
ผู้ที่มีสิทธิรับซะกาต
ผู้ขัดสน คนยากจน
คนพิการ
ผู้มีหนี้สินล้นตัวโดยไม่ใช่เพราะประพฤติมิชอบ
ผู้พลัดถิ่น
ทาส หรือ เชลย
การประกอบพิธีฮัจญ์
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
เป็นสถานที่ที่มีทั้งราชาและยาจก นายและบ่าว คนผิวขาวและผิวดำ
ทุกคนแต่งกายเหมือนกันด้วยผ้าขาวเพียง 2 ชิ้น
สถานที่ประกอบพิธีฮัจญ์ มีเพียงแห่งเดียวในโลก ไม่สามารถไปประกอบพิธีฮัจญ์ที่ไหนก็ได้ตามใจชอบ
ต้องเป็นมุสลิมทีมีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
ต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต
ไม่ใช่เป็นการไปเพื่อโอ้อวดหรือแสดงความั่งคั่งของตน
แต่ไปเพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน
หลักคุณธรรม
(อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม ที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินชีวิต
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ไม่บังคับรูปแบบการสวมใส่ แต่ต้องมิดชิดในส่วนดังกล่าว
อิสลามบัญญัติไว้ เรื่องของความสะอาด เครื่องแต่งกายจะต้องสะอาดหมดจด ไม่มีกลิ่นอับ ต้องหมั่นซัก ไม่มีรอบขาดหรือเย็บ
ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม การแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกาย
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่างกาย ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
การแต่งกายทั้งชายและหญิง ต้องมิดชิดและปิดศีรษะ เหมือนกัน เรียกว่า การสวมใส่ฮิญาบ
พิธีสุหนัต
เด็กชายอายุ 2-10 ปี จะต้องได้รับพิธีสุหนัต
คือ การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติ
เป็นหน้าที่และสิ่งควรสรรเสริญ
เป็นธรรมเนียมเบื้องต้น เพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
มีการเชิญญาติพี่น้อง 2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
มีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนการทำพิธี เสร็จแล้วจึงมีการให้ของขวัญแก่เด็ก
ในปัจจุบันการทำพิธีสุหนัตที่โรงพยาบาลเลยก็ได้ ให้แพทย์ทำคลอดทำการตัดหนังหุ้มปลายองคชาตของทารกนั้นเลย
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง
การขลิบอวัยวะเพศเป็นสิ่งที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การผ่าชันสูตรศพเป็นเรื่องต้องห้าม ยกเว้นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอด จะขอรกเอาไปฝัง ต้องแจ้งให้ทราบหากมีข้อกำจัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์
และพยาบาล
จำกัดการสบตา ไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ไม่มีการห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
แต่ควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มิดชิด หากต้องการตรวจครวจมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปิดร่างกายได้ทั่ว
การดูแลเรื่องอาหาร
เป็นอาหาร ฮาลาล
(ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮิล์)
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร ควรเตรียมสถานที่
มุลสิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่ม
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนเข้าทำพิธี
เอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่น
ออกจากห้องของผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ให้การดูแลในทุกด้านของผู้ป่วย
ดูแลด้วยความเมตตากรุณา ด้วยความรักอย่าเต็มที่
เป้าหมายการดูแล
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตาย
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตาย
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลลอฮ์
ชีวิตมนุษย์มาจากพระอัลลอฮ์ประทานให้ สุดท้ายต้องกลับไปหาพระองค์
อิสลามไม่ให้มนุษย์ฆ่าตัวตาย
ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลลอฮ์มากที่สุด
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าจะตายเมื่อใด
มนุษย์ต้องรำลึกถึงความตายให้มาก
ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสำหรับผู้ศรัทธา
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
นำศพมาอาบน้ำ ชำระสิ่งสกปรก รีดท้อง
นำศพมาวางบนผ้าขาวปู 3 ชั้น นำมือทั้ง 2 วางไว้ที่ระดับอก มือขวาทับมือซ้าย
นำศพไปบรรจุหีบศพ หรือในที่กันดารให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
ฝังในหลุมลึก ไม่ให้กลิ่นขึ้นหรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ่นมาได้
เมื่อฝังแล้ว ห้ามขุดศพขึ้นมา ไม่ว่ากรณีใดๆ
หากจำเป็นต้องรักษาศพไว้ ให้รักษาไว้ไม่ให้มีกลิ่นเหม็น หากมีกลิ่นเหม็นทางศาสนาถือว่าเป็นการบาป
การไปเยี่ยมเคารพศพ
ศพอยู่ที่บ้าน
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรก
นำศพมาวางบนผ้าขาว ปู3 ชั้น หรือบรรจุในหีบศพ
ผู้เยี่ยมเคารพศพ ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่เป้นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
ทำความเคารพศพ โดยกล่่าวคำอำลาไว้อาลัย ไม่นิยมนำพวงหรีดไปวาง
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
ศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
พิธีศพ
เมื่อมีคนตายในหมู่บ้าน มุสลิมมีหน้าที่จะต้องไปเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือ โดยไม่ต้องรอรับคำเชิญหรือการ์ดเชิญ
แต่งกายธรรมดา ไม่ต้องแต่งชุดดำ
ไม่ไปเป็นภาระแก่เจ้าของบ้านโดยไปรับประทานอาหารหรือแม้แต่น้ำ
รีบไปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสาน และรีบทำละหมาด
ก่อนนำไปฝัง ต้องนำไปมัสยิดเพื่อทำละหมาดให้ผู้ตายและอวยพรให้แก่ผู้ตาย
ต้องจัดการฝังให้เรียบร้อยภายใน 24 ชั่วโมง
ฝังเสร็จจะมีการกลบดินหลุมให้นูนขึ้นมา และปักไม้ธรรมดาไว้ที่หลุมฝังศพ
การอุทิศศพ
ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะ และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต จะต้องมีความสำเร็จสูง
คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
ดำเนินการตามคำสั่งเสียได้ก็ต่อเมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น