Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7.1 การสร้างเสริมสุขภาพตามช่วงวัย - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7.1 การสร้างเสริมสุขภาพตามช่วงวัย
การส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
ส่งเสริมการออกกำลังกายในระหว่างตั้งครรภ์
ส่งเสริมโภชนาการในระหว่างตั้งครรภ์
ส่งเสริมการจัดการความเครียดการเผชิญความเครียด
การส่งเสริมสุขภาพในช่วงตั้งครรภ์ (Prenatal period / Pregnancy period)
ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
โภชนาการการบริโภคอาหารโดยทั่วไปการประเมินน้ำหนักตัว
การออกกำลังกายระดับ
การบรรเทาความไม่สุขสบาย ได้แก่ บรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนการลดอาการปวดหลังการจัดการตะคริวการบรรเทาอาการแสบยอดอกเป็นต้น
การส่งสริมสุขภาพหญิงหลังคลอด
การออกกำลังกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
การออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ การเต้นรำการเดินและการว่ายน้ำ
ช่วยลดความเจ็บปวดในขณะคลอดลดภาวะแทรกซ้อนในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอด
การส่งเสริมการดูแลทั่วๆไป
การอาบน้ำและการดูแลอวัยวะเพศไม่นอนแช่น้ำในระหว่างช่วงเดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ไม่สวนล้างช่องคลอด
การรักษาผิวหนังบริเวณหน้าท้องอาจจะเกิดรอยแตกของผิวหนัง (Strae gravidarum)
การออกกำลังกายหลังคลอด
ตรวจสอบความพร้อมโดยเฉพาะผ่าคลอดที่อาจต้องพักฟื้นนานกว่าปกติ
ระมัดระวังอยู่เสมอไม่ควรหักโหมจนเกินไปโดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาสุขภาพหลังคลอดเช่นกระดูกข้อต่อหลวมอาการกล้ามเนื้อหน้าท้องแยกเป็นต้น
ดื่มน้ำให้มากขึ้นร่างกายของแม่ต้องการน้ำในผลิตน้ำนมอยู่แล้ว
พักผ่อนให้เพียงพอเนื่องจากต้องทำหน้าที่แม่
สังเกตตนเองอยู่เสมอ ได้แก่ ตกขาวมากผิดปกติมีเลือดปนน้ำคาวปลามากผิดปกติ
การสร้างเสริมสุขภาพในช่วงวัยทารก
วัยทารกแรกเกิดอายุ 0-28
วันวัยทารกอายุมากกว่า 28 วันถึง 12 เดือน
การเจริญเติบโตและพัฒนาการในเด็กทารก
ในทารกพัฒนาการอยู่ในขั้นที่ 1 ระยะความพึงพอใจอยู่ที่ปาก
ความสุขที่ได้ดูดกลืนทุกอย่างจะเอาเข้าปากหมดชอบอมแทะ
ถ้าไม่ได้รับการตอบสนองทารกจะยึดติดทำให้เมื่อโตขึ้นมีพฤติกรรมชอบเคี้ยวหมากฝรั่งดูดนิ้วกัดเล็บชอบนินทา
ถ้าตอบสนองมากเกินไปอาจพัฒนาบุคลิกภาพที่มองทุกอย่างในด้านดีและพึ่งพาคนอื่นมากเกินไป
ร่างกายเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างรวดเร็วด้านการเคลื่อนไหวสติปัญญาสังคม
เดือนแรกเป็นช่วงวิกฤตเพราะทารกต้องปรับตัวในการมีชีวิตอยู่นอกครรภ์มารดา
การส่งเสริมสุขภาพทำให้ทารกมีโอกาสพัฒนาถึงขีดสุด
ความต้องการพลังงานสำหรับทารก 0-12 เดือน
ความต้องการพลังงานต่อวัน = น้ำหนักตัวเป็นกิโลกรัม x 100 Kcal
ความต้องการพลังงานของทารกในช่วงอายุ 0-2 เดือนเท่ากับ 404 กิโลแคลอรี / วัน
ความต้องการพลังงานของทารกในช่วงอายุ 3-5 เดือนเท่ากับ 550 กิโลแคลอรี / วัน
แนวทางสร้างเสริมสุขภาพวัยทารก
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ส่งเสริมให้ทารกได้รับอาหารเสริมเหมาะสมตามวัย
สร้างเสริมแบบแผนการดำเนินชีวิต
ส่งเสริมให้ทารกมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ส่งเสริมพัฒนาการให้เป็นไปตามวัยโดยการใช้ของเล่น
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยทารกด้านต่างๆ
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดากับทารกการสัมผัสการประสานสายตา
การตอบสนองต่อเสียงของกันและกันของมารดาและทารก
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพวัยทารกด้านจิตใจ
การกอดรัดการสัมผัสลูบตัวทารกเบา ๆ
ไม่ควรกระตุ้นทารกอย่างรุนแรงและรวดเร็วเกินไป
การร้องเพลงกล่อมเด็กหรือเล่านิทาน
การสร้างเสริมสุขภาพด้านจิตวิญญาณ
เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงตรงที่เป็นรูปธรรม
พัฒนาการด้านภาษา
ทักษะการพัฒนาทางด้านกล้ามเนื้อทักษะในการตีความและสื่อสารกับคนอื่น
การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพวัยหัดเดินและวัยก่อนวัยเรียน
การซักประวิติและตรวจร่างกาย
เตรียมความพร้อมทั้งเด็กที่จะได้รับการประเมินการเตรียมสถานที่การสร้างสัมพันธภาพ
ตรวจร่างกายควรทำผ่านการเล่นและให้มารดาอยู่ด้วย
การตรวจควรเริ่มจากการตรวจที่ไม่ลุกล้ำเข้าไปในร่างกายของเด็ก
การสร้างเสริมสุขภาพด้านร่างกาย
ป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคติดเชื้อด้วยวัคซีน
ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพฟัน
ส่งเสริมการอยากรับประทานอาหาร
สร้างเสริมสุขลักษณะการนอนที่ดี
การปรับปรุงพฤติกรรมปัสสาวะรดที่นอน
ส่งเสริมการหัดเดินด้วยการเลือกรองเท้าที่เหมาะสม
การสร้างเสริมพัฒนาการด้านร่างกายทั่วไป
การสร้างเสริมสุขภาพด้านสังคม
การพัฒนาการเล่นช่วยกระตุ้นให้เกิดการรับรู้ที่ดีช่วยพัฒนาการทั้งด้านร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา
สนับสนุนเลือกพี่เลี้ยงที่ไว้วางใจได้พี่เลี้ยงเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับลูกต้องมีความรู้และสามารถกระตุ้นพัฒนาการของลูกได้
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมทั่วไปเช่นสอนให้ลูกมีสัมมาคารวะรู้จักทำความเคารพ
นางสาว สุนิสา บุญญานุสนธิ์ รหัส611410013-3