Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา, image, image, image, image,…
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานทางเภสัชวิทยา
ยา
ความหมาย
วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย
วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์
วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ
9 ชนิด
3.ยาแผนปัจจุบัน
4.ยาแผนโบราณ
2.ยาอันตราย
5.ยาควบคุมพิเศษ
1.ยาใช้ภายนอก
6.ยาชาเฉพาะที่
7.ยาสามัญประจำบ้าน
8.ยาบรรจุเสร็จ
9.ยาสมุนไพร
ความสำคัญของยา
รักษาความเจ็บป่วย
เช่น
อาการไข้
คัน
ปวด
กำจัดสาเหตุของโรค
เช่น
ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
แหล่งที่มาของยา
1.ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ
ได้แก่
พวกสมุนไพร
1.1 พืช
1.2 สัตว์
1.3 แร่ธาตุ
ยาสังเคราะห์
เช่น
ยาปฎิชีวนะ
วิถีทางและวัตถุประสงค์การให้ยา
รูปแบบของยาเตรียม (Dosage form)
รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของแข็ง
1.1 ยาเม็ด
1.2 ยาแคปซูล
1.3 ยาผง
รูปแบบยาเตรียมที่เป็นของเหลว
2.1Elixir
2.2Solution
2.3Spirit
2.4Syrup
รูปแบบยาเตรียมที่เป็นกึ่งของแข็ง
3.1ครีม
3.2ยาขี้ผึ้ง
3.3เพสท์
3.4ยาเหน็บ
การให้ยาผ่านทางเดินอาหาร
1.1การรับประทาน
1.2การอมใต้ลิ้น
1.3การให้ยาทางทวารหนัก
2.การให้ยาโดยไม่ผ่านทางเดินอาหาร
2.1การให้ยาฉีด
ฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
2.2การให้ยาเฉพาะที่
การให้ยาผ่านผิวหนัง
ได้แก่
ยาผงโรยผิวหนัง
พลาสเตอร์
ยาหยอด
ได้แก่
ยาหยอดตา
ยาหยอดหู
ยาเหน็บช่องคลอด
การให้ยาฆ่าเชื้อในช่องคลอด
2.3การให้ยาชนิดสูดดม
เช่น
ยาขยายหลอดลม(ผู้ป่วยหอบหืด
1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาในขนาดที่ถูกต้อง
2.ป้องกันการสลายตัวของยา
3.กลบรสตัวยาที่ไม่น่ารับประทาน
4.เหมาะสำหรับเด็กหรือผู้สูงอายุ ที่กลืนยาเม็ดไม่ได้
5.เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ติดต่อกันนาน
การบริหารยา
2.ยาหลังอาหาร
หลังอาหารไม่เกิน 15-30น.
กรณีลืม
ที่นึกได้และไม่เกิน 15-30น.
1.ยาก่อนอาหาร
ก่อนรับประทานยา 30น.
กรณีลืม
2ชม.หลังรับประทานอาหาร
3.ยาหลังอาหารทันที
รับประทานหลังอาหารทันที
4.ยาพร้อมอาหาร
รับประทานอาหารครึ่งนึง แล้วรับประทานยา
กรณีลืม
รอรับประทานหลังอาหารในมื้อถัดไปแทน
5.ยาก่อนนอนหรือหลังอาหารเย็น
รับประทานก่อนนอน 15-30น.
กรณีลืม
รอให้ถึงเวลาก่อนเข้านอนในคืนถัดไป
หลักการใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง
เกิดการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ
5 ประการ
1.ใช้ยาถูกคน
2.ใช้ยาถูกชนิด
3.ใช้ยาถูกขนาด
4.ใช้ยาถูกเวลา
5.ใช้ยาถูกวิธี
ควรคำนึงถึงวิธีการบริหารยา
ควรคำนึงถึงคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีของยา
การเรียกชื่อยา
1.ชื่อสามัญ
เรียกชื่อยาที่สำคัญทางการแพทย์
เช่น
พาราเซตามอล
2.ชื่อทางเคมี
ชื่อทางวิทยาศาสตร์
เช่น
4'-Hydroxyacetanilide
3.ชื่อทางการค้า
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ขายตั้งขึ้น
เช่น
Calpol
คำสั่งการใช้ยา
องค์ประกอบในใบสั่งยา
ได้แก่
วันที่ ชื่อ และที่อยู่ของผู้ป่วย
จะใช้สัญลักษณ์ Rx
ใบสั่งยาที่บอกชื่อ ยา รูปแบบของยา
ปริมาณในตัวยา ในยาเตรียม 1 หน่วย
บอกจำนวนยาทั้งหมด บอกวิธีการใช้ยา
ลงชื่อผู้ส่งใช้ยาผู้จัดยา
คำย่อที่ใช้เกี่ยวกับยา
เพื่อบอกเวลาในการใช้ยา
คำย่อ
ac (before meals) ก่อนอาหาร
pc (After meals) หลังอาหาร
hs (At bed time) ก่อนอน
เพื่อบอกความถี่ในการใช้ยา
od (Once a day) วันละ 1 ครั้ง
bid (Two times a day) วันละ 2 ครั้ง
เพื่อบอกวิธีการบริหารยา
po/oral/ ให้รับประทานยา
นางสาวกัลชิญา อทุมชาย UDA6280001
นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2