Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (PHARMACODYNAMICS) - Coggle Diagram
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์
(PHARMACODYNAMICS)
เภสัชพลศาสตร์ (PHARMACODYMAMICS)
การออกฤิทธิ์ของยาต่อร่างกาย(WHAT DRUG DOES TO THE
BODY) หรือการที่ยามีผลต่อร่างกาย กลไกที่ท าให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือ ฤิทธิ์ในการรักษา และผลที่ไม่พึงประสงค์คือ
อาการข้างเคียงและพิษของยา
การจับของยาเข้ากับโมเลกุลของร่างกายที่ท าหน้าที่เป็นตัวรับ (DRUG TARGET)
รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดยาที่ใช้กับการตอบสนองที่เกิดขึ้นในร่างกาย (DOSERESPONSE RELATIONSHIP)
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับ (RECEPTOR-MEDIATEDACTION)
RECEPTOR คือ โมเลกุลหรือโครงสร้างทที่ า หน้าที่จับกับยาหรือฮอร์โมนแล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทา งานของเซลล์หรือ
เอนไซม์ RECEPTOR ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นพวกโปรตีน
RECEPTOR ตัวรับ
• SPECIFIC ต่อสารสื่อหรือ ยาทมี่ ีโครงสร้างเฉพาะ
มีAFFINITY ต่อสารสื่อหรือต่อยาสูง
แรงยดึเหนี่ยวระหว่างยากับตัวรับมัก เป็น WEAK BOND
AGONIST ชุดหนึ่ง เมื่อกระตุ้นเนือ้ เยอื่ หลายชนิด มีล าดับความแรงของสารแต่ละตัวต่างกัน
ความแตกต่างของ NON-SPECIFICALLY ACTING DRUGS และSPECIFICALLY ACTING DRUGS
ความแรง (POTENCY) หรือ BIOLOGICAL SPECIFICITY ตัวอย่างเช่น DIAZEPAM (BENZODIAZEPINE) เทียบกับ ETHANOL
CHEMICAL SPECIFICITY : การเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของยาในกลุ่ม SPECIFICALLYACTING DRUGS ไปเพียงเล็กน้อยจะท าให้ผลทางเภสัชวิทยาเปลี่ยนไปมาก
การต้านฤิทธิ์ ANTAGONIST ยาในกลุ่ม SPECIFICALLY ACTING DRUGS
อาการไม่พึงประสงค์และพิษของยา
(ADVERSE DRUG REACTION AND DRUG TOXICITY)
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (ADVERSE DRUG REACTION : ADR) การตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตราย และเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ
อาการข้างเคียงจากการใช้ยาหรือ SIDE EFFECT เภสัชภัณฑ์ที่ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้นเกิดในขนาดในการใช้ยาปกติในมนุษย์
การจำแนกประเภทของ ADR ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
ADR TYPE A ไม่มีความจ าเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม ความรุนแรงของอาการที่เกิดมีความสัมพันธ์กับขนาดยามีอุบัติการณ์การเกิดสูงแต่มีอัตราการเสียชีวิตน้อย
ADR TYPE B เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะส าหรับบางคน จะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น
พิษของยา (TOXIC EFFECT)
ยาที่ใช้ถ้ายังเพิ่มขนาดใช้ยา
อาการพิษก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้น ๆ พิการหรือเสื่อมสภาพไป
การใช้ยาในระยะเวลานานติดต่อกัน
แม้จะใช้ในขนาดปกติ ก็เกิดเป็นพิษได้ เนื่องจากพิษของยาเอง เช่น
คลอแรมเฟนิคอล สเตียรอยด์