Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
บทที่4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์
เพื่อการรักษา
1)รักษาตามอาการ
Paracetamal,Plasil เป็นต้น
2)รักษาเฉพาะโรค
Antibioticเป็นต้น
3)ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
Ferrous sulfate เป็นต้น
4)ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
Digitalisเป็นต่น
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
Barium sulfate เป็นต้น
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
Vaccine BCG เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ภาวะจิตใจ
เพศ
ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่า
ผู้หญิงมีไขมันมากกว่าและมีของเหลวในร่างกายน้อยกว่า
อายุและน้ำหนักตัว
คำนวณปริมาณยาจากน้ำหนักตัวของผู้ป่วย
กรรมพันธุ์
ทางที่ให้ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็ว
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
OD(omni die)=วันละ 1 ครั้ง
bid(bis in die)=วันละ 2 ครั้ง
tid(ter in die)=วันละ 3 ครั้ง
qid(quarter in die)=วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs(quaque 6 hora)=ทุก 6ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
O=รับประทานทางปาก
subling=อมใต้ลิ้น
M=เข้ากล้ามเนื้อ
Inhal=ทางสูดดม
SC=เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
Nebul=พ่นให้สูดดม
V=เข้าหลอดเลือดดำ
Supp=เหน็บ / สอด
ID=เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง instill=หยอด
เวลาการให้ยา
a.c.=ก่อนอาหาร
p.c.=หลังอาหาร
h.s.=ก่อนนอน
p.r.n.=เมื่อจำเป็น
stat=ทันทีทันใด
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี
ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
ระบบเมตริก
ส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตรมิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
หน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
การเปรียบเทียบแต่ละระบบ
ระบบอโพทีคารี:ระบบเมตริก
-15 เกรน =1กรัม gm
-1 เกรน
=60 มิลลิกรัม (mg)
-1 แดรม =4 มิลลิลิตร (ซี.ซี. -1 แดรม =4กรัม
-1 ออนซ์
=30กรัม (30 ซี.ซี.)
-1 ปอนด์ =450กรัม
-2.2 ปอนด์=1000กรัม
เครื่องตวงวัดประจำบ้าน:ระบบเมตริก
-15 หยด
=1 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
-1 ช้อนชํา=
5มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
-1ช้อนหวําน=8มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
-1 ช้อนโต๊ะ*=15มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
-1 ถ้วยชํา=180 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
-1 ถ้วยแก้ว=240 มิลลิลิตร (ซี.ซี.)
วิถีทางการให้ยา (Route)
1.ทางปาก (oral)
วิธีการ
อม
รับประทาน
ดูดซึมทางระบบเดินอาหาร-ลำไส้
ทางสูดดม(inhalation)
ดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
พ่น
ทางเยื่อบุ(mucous)
ดูดซึมทางระบบไหลเวียนเลือด
วิธีการ
สอดช่องคลอด
เหน็บทวารหนัก
หยอด
อมใต้ลิ้น
ล้าง
ทางผิวหนัง (skin)
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscal)
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ทํางหลอดเลือดดำ (intravenous)
รูปแบบการบริหารยา
พยาบาลวิชาชีพยึดหลักถึง 11 ข้อ
1.Right patient/client(ถูกคน)
2.Right drug(ถูกยา)อ่านชื่อ ยาอย่างน้อย 3 ครั้ง
3.Rightdose(ถูกขนาด)
4.Right time(ถูกเวลา)
5.Rightroute(ถูกวิถีทาง)
6.Right technique(ถูกเทคนิค)
7.Right documentation(ถูกกํารบันทึก)
Right to refuse
Right History and assessment
10.Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
Right to Education and Information
หลักสำคัญในการให้ยา
ทางปากใช้หลักสะอาด ฉีดยาใช้หลักaseptic technique
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อน
ทราบวัตถุประสงค์ ผล ผลข้างเคียง
ตรวจสอบประวัติกํารแพ้ยา
ตรวจสอบวันหมดอายุ
สะอาดและมีแสงสว่าง
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ป่วยก่อน
บอกให้ผู้ป่วย
ต่อหน้าพยาบาล
ประเมินประสิทธิภาพของยาที่
ลงบันทึกกํารให้ยา
ให้ยาผิดต้องรีบรายงาน
สังเกตอาการ
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ในการสั่งใช้ยา(Prescription error)
ในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing error)
ในการจ่ายยา(Dispensing Error)
ในการบริหารยา(Administration error)
บทบาทพยาบาล
ตรวจสอบยา
ซักประวัติถามเรื่องแพ้ยาดูOPD card
หัวหน้าเวรสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
ระวังการจัดยา
เวรบ่ายตรวจสอบรายการยา
อธิบํายและแนะนำผู้ป่วยและญําติ
เขียนคำว่า+ยาB co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก ใหญ่ ชัดเจน
ตรวจสอบยาที่จัด
ผู้จัดผู้ตรวจสอบคนละคน
แจกยาตามเตียงเซ็นชื่อทุกครั้ง
ยึดหลัก 6R
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์(ลายลักษณ์อักษร)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อผู้ป่วย
วัน เวลา ที่สั่งยา
ชื่อยา
ขนาด/ความเข้มข้นของยา
เวลา ความถี่ในการให้ยา
ทางที่ให้ยา
ลายมือชื่อของแพทย์ที่สั่งยา
ชนิด
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไปOrderfor continous
คำสั่งที่ต้องให้ทันทีStat order
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็นPRN order
คำสั่งใช้ภายในวันเดียวorderfor oneday
หน้าที่พยาบาล
การรับการสั่งยาจากแพทย์ทางโทรศัพท์
รายละเอียด
ชื่อแพทย์ผู้สั่ง
แพทย์เซ็นกำกับ
คำสั่งยา
เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดยา เตรียมยาและนำไปให้ผู้ป่วยโดยตรง ตามคำสั่งแพทย์
การคำนวณขนาดของยา
ความเข้มข้นของยา(ในแต่ละส่วน)= ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี