Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
3.2 การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
3.2.1 ความหมายและความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อน (Rest) หมายถึง การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่าง โดยนั่งเฉย ชั่วขณะหนึ่ง อาจทำกิจกรรมเบา นันทนาการ เปลี่ยนอิริยาบท หรือชมวิว เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความกังวล
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล แบ่งออกเป็น
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง การทำกิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย เช่น ไปห้องน้ำด้วยตนเอง เป็นต้น
การนอนหลับ เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่น โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
3.2.2 ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
3.2.3 ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเอง
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย
ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่นอาการเมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ผลกระทบทางสังคม
บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทางสังคม ได้แก่การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลง และมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
3.2.3วงจรการนอนหลับ
1) ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
2) ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
ในขณะที่นอนหลับสรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง คือ
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง ตากลอกขึ้นหรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
ปริมาณปัสสาวะลดลง
3.2.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
1.ปัจจัยส่วนบุคคล
1) อายุ
2) เพศ
ความไม่สุขสบาย
3) ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
4) อาการคลื่นไส้ อาเจียน
2) การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อระบายต่าง
5) ภาวะไข้หลังผ่าตัด
1) ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
4.ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
3.แสง
6.อาหาร
2.อุณหภูมิ
ยา
1.เสียง
3.2.5 การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
3.2.5.1 Insomnia
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
สาเหตุ
2) โรคทางอายุรกรรม
3) อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
1) โรคทางจิตเวช
4) โรคของการนอนหลับโดยตรง
1) การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
3.2.5.2 Hypersomnia
3.2.5.3 Parasomnia
แบ่งออกเป็น 4 แบบ
2) ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
3) กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
1) ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
4) กลุ่มอื่น ๆ
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM ได้แก่ ความคิดบกพร่องการรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM ได้แก่ เมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก เวียนศีรษะ ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ภูมิต้านทานลดลงระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
3.2.6 การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
3.2.6.1 การจัดสิ่งแวดล้อม
เสียง
กลิ่น
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียส มีการถ่ายเทระบายอากาศดี มีแสงสว่างส่องเพียงพอ
แสงสว่าง
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอำนวยความสะดวก
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
3.2.6.2 การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายสำหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยน อิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน
3.2.7 การทำเตียง
มี 4 ชนิด
2) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
3) การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
1) การทำเตียงว่าง (Close bed)
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย ให้หอผู้ป่วยเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ป่วยใหม่
4) การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยสำลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
หลักปฏิบัติการทำเตียง
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่ำเสมอ
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
3.2.7 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและการส่งเสริมการพักผ่อน
นอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล (Planning
4.การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation) ต้องมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมินผลข้างต้น
1.การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)