Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม, image, image,…
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
นับถืออันดับสองรองจากศาสนาคริสต์
“อิสลาม” แปลว่า ยอมจำนน ปฏิบัติตาม
และนอบน้อม (ต่อพระอัลลอฮ์)
ศาสดา คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ศาสนสถานของชาวมุสลิม คือ
มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่า สถานที่กราบ)
ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
โรงเรียน
พบปะชุมนุม
ทำบุญ
เลี้ยงฉลอง
จัดพิธีมงคลสมรส
สถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พำนัก
สัญญลักษณ์
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว คือ เครื่องหมายบอกทิศทางในการเดินทาง
เดือนครึ่งเสี้ยว คือ เครื่องหมายของกาลเวลา
สองสิ่งเป็นสิ่งเตือนใจและเป็น
สิ่งสำคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วย
จุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ
กรรมการ
จังหวัดละหนึ่งคน
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการ
บริหารองค์กรศาสนาอิสลาม
พ.ศ.2540
นิกาย
ซุนนี (Sunni) 75-90%
ผู้นับถือคัมภีร์นี้เป็นผู้ที่เคร่งครัด
ไม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคำสอน
ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์
ส่วนมากอยู่ใน
ซาอุดิอาระเบีย
แอฟริกา
ไทย
อินโดนีเซีย
สาธารณรัฐตุรกี
มาเลเซีย
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์ (Shiah) 10-20%
แยกออกมาจากนิกายซุนนี
เชื่อว่าอิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด
เป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาป
หลักการอันเป็นข้อบังคับ
เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
ศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
ปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา(อิบาดะห์)
คุณธรรม (อิห์ซาน)
ทุกคนต้องเรียนรู้ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
พระเจ้าเป็นฐาน
มลาอิกะฮ์
บรรดาศาสนทูต
พระคัมภีร์อัลกุรอาน
วันกียามะฮ์
การลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่
เรียกว่า อิบาดะห์
ปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
ละหมาด หรือ สวด
ย่ำรุ่ง
กลางวัน
เย็น
พลบค่ำ
กลางคืน
ถือศีลอด
ฝึกฝนให้มีจิตผูกพัน
ประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
บริจาคศาสนทานซะกาต
ประกอบพิธีฮัจญ์
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
เพศชายปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิงปิดทั้งร่างยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
วัฒนธรรมแต่งกาย มิดชิดและปิดศีรษะ
เรียกว่า การสวมใส่ “ ฮิญาบ “
พิธีสุหนัต
ตัดหนังหุ้มปลายองคชาต
เพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
พิธีถือศีลอด
เดือนรอมฎอน ตลอด 1 เดือน
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
ยกเว้น
คนชรา
คนป่วย
หญิงที่มีครรภ์
บุคคลที่ทำงานหนัก
บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
ชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่โลภและเห็นแก่ตัว
ปลูกฝังให้เป็นผู้มีจิตใจเมตตา
กรุณาเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
ช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคม
กิบลัต (Quibla)
พิธีฮัจญ์
สำหรับชาวมุสลิมผู้ที่มีฐานะดี มีสุขภาพดี ผู้ชายอายุ 15 ปี และผู้หญิง 19 ปี ขึ้นไป
แนวคิดสำคัญ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง
ขลิบอวัยวะเพศชาย
ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
ใส่เครื่องช่วยหายใจไม่สนับสนุนให้ทำ
ห้ามผ่าศพชันสูตร ยกเว้นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝัง
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
ไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
การดูแลเรื่องอาหาร
อาหารฮาลาล ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
อดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน
ล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร
ใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่ม
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
ล้างเท้าก่อนทำพิธี
สวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และมีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบน
ส่วนที่ตนเจ็บแล้วให้การละหมาด
4 การขอพรจากพระอัลลอฮ์
พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
การส่งเสริมกำลังใจ
ตักเตือนให้เขาระลึก
ถึงความอดทน
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
เป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกที
นำศพมาวางบนผ้าขาวปูไว้ ๓ ชั้น
มือทั้งสองไว้ที่ระดับอก ขวาทับซ้าย
บรรจุในหีบศพ
ฝังในหลุมลึก คะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้น
ฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา
ข้อแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพ
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
ทำความเคารพศพ กล่าวคำไว้อาลัยได้
(ไม่นิยมนำพวงหรีดไปวาง)
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
รอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
แสดงความเสียใจกับญาติ
พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
การอุทิศศพ หรือบริจาคอวัยวะ
มีคุณสมบัติครบและยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
ไม่ใช่เพื่อการค้าหรือแสวงหากำไร