Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่9 การสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว, นางสาว ศศิภา แก้วอาษา…
หน่วยการเรียนรู้ที่9 การสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว
แนวคิดหลัก
ครอบครัวเป็นหนํวยที่เล็กที่สุดของสังคมที่ทาหน๎าที่หลักในการบํมเพา ซึมซับ วัฒนธรรมจากคนรุํนหนึ่งไปยังคนอีกรุํนหนึ่ง เป็นหนํวยของสังคมที่ใกล๎ชิดกับบุคคล ตั้งแตํเกิดจน
ตาย การปลูกฝังสุขนิสัยที่ดี
ความหมายของครอบครัวครอบครัวเป็นหนํวยที่เล็กที่สุดของสังคมที่มีลักษณะสาคัญคือ
1) ประกอบด๎วยคนมากกวำ 1 คน
2.สมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตหรือทางกฎหมาย
3) สมาชิกในครอบครัวมีความสัมพันธ์ตํอกันอยำงใกล้ชิด มีความผูกพันในครอบครัว
4) มีโครงสร๎างบทบาทหน๎าที่ตามที่สังคมกาหนดไว้
5) สมาชิกในครอบครัวมีการพึ่งพาชํวยเหลือกันด๎านเศรษฐกิจ เชํน ใช๎จำยเงินจากเงินงบประมาณเดียวกัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างเสริมสุขภาพของครอบครัว (influencing factors)
การสรhkงเสริมสุขภาพในครอบครัว เป็นการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกในครอบครัวเพื่อสํงเสริมให๎ทุกคน
มีสุขภาพที่ดี ซึ่งจะนาไปสูํความผาสุกในชีวิต
ปัจจัยภายใน (internal factors) หมายถึงสิ่งตำงๆ ที่เกี่ยวข๎องทั้งด๎านกายภาพและชีวภาพของครอบครัว ที่มีผลทาให๎พฤติกรรมการสร๎างเสริมสุขภาพของครอบครัวมีความแตกตำงกัน
ปัจจัยภายนอก (external factors)หมายถึง ปัจจัยที่เกี่ยวข๎องในด๎านสิ่งแวดล๎อมภายนอกครอบครัว เชํน ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ แหลํงสนับสนุนด๎านเศรษฐกิจของครอบครัวนโยบายที่เกี่ยวข๎องกับครอบครัว
แนวคิดและบทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัว (family health promotion)
การสร้างเสริมสุขภาพครอบครัว (family health promotion) หมายถึง พฤติกรรมและกิจกรรมของครอบครัวที่กระทาหรือดำเนินการเพื่อเพิ่มพูนความผาสุก และคุณภาพชีวิตของครอบครัว
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว การทางานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัวให๎ประสบความสาเร็จนั้น พยาบาลจักต้องดารงและปฏิบัติตนในบทบาทหน๎าที่อยำงหลากหลาย เพื่อให๎ครอบคลุมกิจกรรมเปูาหมายตำงๆ
กลวิธีในการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัว
การสร้างเสริมสุขภาพครอบครัวนั้นมีกลวิธีในการดาเนินงานทั้งในระดับบุคคล (Individual level) และระดับครอบครัวที่เป็นหนํวยรวมได๎แบํงระดับการปฏิบัติการพยาบาลสาหรับ
ครอบครัวตามรูปแบบและลักษณะที่ใช๎ในการเข๎าถึงครอบครัว แบํงเป็น 4ระดับดังนี้
ระดับที่ 2การดูแลครอบครัวโดยยึดครอบครัวเป็นผู๎รับบริการ เป็นวิธีการที่พยาบาลครอบครัว มีจุดมุํงหมายในการให๎บริการพยาบาลกาสมาชิกทุกคนในครอบครัว
ระดับที่ 3 การดูแลครอบครัวโดยยึดครอบครัวเป็นหนํวยผู๎รับบริการทั้งระบบและภาพของครอบครัวจะถูกมองเป็นระบบครอบครัวที่มีการปฏิสัมพันธ์ มีกระบวนการในการดารงไว๎ซึ่งระบบหรือหน้าที่ต่างๆของครอบครัว
ระดับที่ 1 การดูแลครอบครัวโดยยึดครอบครัวเป็นบริบทในการให้บริการ โดยพยาบาลมีจุดมุํงหมายที่จะดูแลบุคคลเปูาหมายที่อาจจะมีภาวะเสี่ยงหรือมีการเจ็บปุวยแล๎วให๎มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ระดับที่ 4 เป็นวิธีการที่พยาบาลใช๎ในการดูแลครอบครัว โดยมองครอบครัววำเป็นสํวนหนึ่งของระบบสังคมซึ่งสังคมจะประกอบไปด๎วยหนํวยตำงๆ เช่น สถานการศึกษา สถานที่การเงิน
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว
แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัวมีหลากหลาย ในที่นี้จะกลำวถึง 2 แนวคิดและกลวิธีที่นิยมใช้
อยำงแพรํหลายในบริบทตำงๆ คือ
กระบวนการพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัว หมายถึง พฤติกรรมและกิจกรรมของครอบครัวที่กระท าหรือด าเนินการเพื่อเพิ่มพูนความผาสุก และคุณภาพชีวิตของครอบครัว
2.บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว การทำงานเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัวให้ประบสความสำเร็จนั้น
แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว
แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัวมีหลากหลาย ในที่นี้จะกลําวถึง 2 แนวคิดและกลวิธีที่นิยมใช้อยํางแพรํหลายในบริบทตํางๆ คือ
กระบวนการพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัว กระบวนการพยาบาลเป็นหัวใจสำคัญของการให๎การพยาบาลแกํผู๎รับบริการทุกระดับทั้งระดับบุคคลระดับครอบครัว และระดับชุมชน มีขั้นตอนการดำเนินงานดังตํอไปนี้ การประเมินครอบครัว การระบุปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของครอบครัว การวางแผนสุขภาพครอบครัว การปฎิบัติ การประเมินผล
แนวคิดการดูแลที่เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง แนวคิดการดูแลที่เน๎นครอบครัวเป็นศูนย์กลางในบริบทของการดูแลเด็กหมายถึงการที่ครอบครัวเป็นศูนย์กลางชีวิตของเด็ก มุ่งสนับสนุนให๎เด็กและครอบครัวมีสํวนรํวมหรือเป็นหุ้นสํวนในการดูแล และรวมครอบครัวเข้าไว้ในแผนการดูแลผู้ช่วย
การสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัวที่มีผู้เจ็บป่วย/ พิการ
ผลกระทบจากภาวะการเจ็บป่วยต่อครอบครัวผู้พิการ
1 ภาวะโศกเศร้าเสียใจเนื่องจากครอบครัวมีเป้าหมายและความคาดหวังตํอความสมบูรณ์ของสมาชิก
2 ภาวะเครียดและวิตกกังวลตํอความก้าวหน้าของโรคของผู้ป่วยหรือการแพทย์กระจายของโรคที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
3 ภาวะสูญเสียพลังอำนาจเนื่องจากครอบครัวไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับชีวิตของตนเองหรือครอบครัวได้
4 ภาวะสูญเสียภาพรักเมื่อมีผุ้ปุวยเรื้อรังหรือผู้พิการในครอบครัวมีผลให้ครอบครัวเกิดความรู๎สึกด้อยรู๎สึกสูญเสียภาพลักษณ์บางครอบครัวถึงกับไมํยอมคบหาสมาคมกับผู้อื่น
แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง
กระบวนการเจ็บปุวยเรื้อรังแบํงออกเป็น 9 ระยะดังนี้
1 ระยะกํอนเจ็บป่วยเป็นระยะที่บุคคลยังไมํมีอาการหรืออาการแสดงที่ผิดปกติ
2 ระยะเริ่มแสดงอาการเป็นระยะที่อาการและอาการแสดงของโรคเริ่มปรากฏอาจเป็นระยะแรกของการวินิจฉัย
3 ระยะอาการคงที่เป็นระยะที่อาการของโรคไมํรุนแรงเป็นระยะที่ความเจ็บป่วยและอาการสงบ
4 ระยะที่อาการไมํคงที่เป็นระยะที่อาการของโรคเริ่มมีอาการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะที่แผนการรักษาไมํสามารถควบคุมและจัดการกับความเจ็บปวดได้
5 ระยะเฉียบพลันเป็นระยะที่มีการเจ็บป่วยรุนแรงขึ้นจนไมํสามารถจัดการได้ด้วยตนเอง
6 ระยะวิกฤตเป็นระยะที่มีการเจ็บปุวยอยูํในขั้นรุนแรงระยะนี้ชีวิตตกอยูํในอันตรายต้องการการดูแลเพื่อชํวยชีวิตและชํวยให้อาการทุเลาลงเป็นระยะที่พึ่งพาบุคลากรทางการแพทย์สูง
7 ระยะพักฟื้นหลังจากผํานพ้นระยะวิกฤตแล้วผู้ป่วยจะเริ่มฟื้นตัวและป้องกันการฟื้นฟูรํางกายและจิตใจเพื่อดำรงไว๎ซึ่งศักยภาพในการดำรงค์ชีวิตประจำวัน
8 ระยะที่อาการทรุดลงเป็นระยะที่การดำเนินโลกเข้าสูํระยะสุดท้าย เป็นเรียนที่ป่วยมีการเสื่อมถอยทั้งรํางกายและจิตใจ
9 ระยะใกล้ตายเป็นชํวงเวลาสุดท้ายของชีวิตเอาไว้ว่าสำคัญของร่างกายจะเปลี่ยนไปในทางที่เลวลงจนหยุดทำหน้าที
ความต้องการการดูแลของครอบครัวที่มีผู้ป่วยหรือผู้พิการ
ความต้องการการเตรียมด้านความรู้ความเชื่อ และทักษะการดูแลผู้ป่วยหรือผู้มีพิการ เนื่องจากศักยภาพของครอบครัวที่มีผู้ป่วยหรือผู้พิการในการสร้างเสริมสุขภาพ
ความต้องการการสนับสนุนชํวยเหลือด้านจิตสังคมทั้งครอบครัวและบุคลากรทางสุขภาพซึ่งเป็นปัจจัยในการดูแลผู้ป่วยเนื่องจากการดูแลผู้ป่วยหรือผู๎พิการมีทั้งการดูแลที่งําย
ความต้องการด้านสถานที่และอุปกรณ์โดยเฉพาะครอบครัวที่มีผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังต๎องการสถานที่และปกรณ์การออกกำลังกายหรือฟื้นฟูสภาพสำหรับผู้สูงอายุ
บทบาทของครอบครัวหรือผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยผู้พิการ
1 ระยะการสร้างเสริมสุขภาพเป็นระยะที่ครอบครัวมีสุขภาพดีและสํงเสริมสุขภาพครอบครัวเป็นจุดเริ่มต้นและมีบทหลักในการสร้างเสริมสุขภาพการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วย
2 ระยะอาการแสดงของการเจ็บป่วยเป็นระยะที่ปลอดบางต่อการเจ็บป่วยเรียนนี้สมาชิกของครอบครัวเริ่มรับรู้อาการเจ็บป่วยสาเหตุความรุนแรงและความหมายของการเจ็บป่วยต่อครอบครัว
3 ระยะประเมินอาการเจ็บป่วยเป็นระยะที่สมาชิกในครอบครัวเมียการเจ็บป่วยและสํวนใหญํมันดํามาเป็นผู้ประเมินการเจ็บป่วยของสมาชิกหากไม่สามารถประเมินการเจ็บป่วยได้อาจทำให้การเจ็บป่วยนั้นรุนแรงมากขึ้น
บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมสุขภาพครอบครัวที่มีผู้เจ็บป่วยหรือพิการ
1.การสร้างสัมพันธภาพแห่งความไว้ใจเป็นขั้นตอนแรกที่จะต้องสร้างให้เกิดขึ้นและคงไว้ตลอดชํวงระยะเวลาการให้การพยาบาลเพื่อส่ง
เสริมความร่วมมือที่ดีระหว่างครอบครัว
การประเมินและวินิจฉัยครอบครัวเป็นขั้นตอนการค้นหาปัญหาวิธีแก้ปัญหาจุดแข็งจุดอ่อนของครอบครัวต่อการจัดการกับปัญหาและความต้องการการประเมินบริบทของครอบครัวในการสร้างเสริมสุขภาพ ควรประเมินความเชื่อของครอบครัวเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
3การวางแผนและการปฎิบัติการพยาบาลครอบครัวเป็นการกำหนดกิจกรรมการพยาบาลในการแก๎ปัญหาครอบครัวและผลลัพธ์โดยร่วมมือกับครอบครัวและใช้วิธีการพยาบาลที่หลากหลายตลอดจนการประเมินการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับครอบครัวจากการเจ็บป่วยและใช๎วิธีแก้ปัญหาที่ผ่านมา
4 การประเมินผลทางการพยาบาลเป็นการประเมินผลแยกแยะการเปลี่ยนแปลงในครอบครัวที่เป็นผลมาจากวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลายเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการพยาบาลให๎สอดคล๎องกับโครงสร้างของครอบครัวมากขึ้นอันจะสํงผลตํอการเปลี่ยนแปลงความเชื่อและพฤติกรรม
นางสาว ศศิภา แก้วอาษา 611410068-3 คณะพยาบาลศาสตร์