Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพ ตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพ
ตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
[1] ความหมายของศาสนาอิสลาม
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลามคือ อัลกุรอาน
ศาสดาของศาสนาอิสลามคือ นบีมูฮัมหมัด
ผู้นับถือศาสนาอิสลามคือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจำนนข้อบัญญัติพระอัลเลาะห์
ศาสนสภานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า
สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม คือ รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและมีดาวอยุ่ข้างบน
{1.2} นิกายของศาสนาอิสลาม
นิกายซุนนี (Sunni)
นิกายชีอะฮ์ หรือ ชิเอฮ์ (Shiah)
วัฒนธรรมแต่งกายของมุสลิมทั้งชายและหญิงมีสาระสาคัญเหมือนกันคือ มิดชิดและปิดศีรษะ เรียกว่า การสวมใส่ ‘ ฮิญาบ’
{1.1} มุสลิมที่บรรลุนิติภาวะทางร่างกายต้องละหมาดและต้องถือศีลอดทุกคน ยกเว้นสาหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้
3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
4) บุคคลที่ทางานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
1) คนชรา
6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
[2] หลักการข้อบังคับสำหรับชาวมุสลิมทุกคน
เริ่มประพฤติตั้งแต่อายุ 3 ขวบขึ้นไป
{2.2} หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาอิสลามอ
(อิบาดะห์)
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
5 เวลาต่อวัน
4) เวลาพลบค่ำ
5) เวลากลางคืน
3) เวลาเย็น
2) เวลากลางวัน
1) เวลาย่ำรุ่ง
การถือศีลอด
4 ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อ คือ มื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่าตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
3 เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
2 เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้น จะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
5 การถือศีลอดทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
1 เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยาเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์
การบริจาคศาสนทานซะกาต
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปี แล้วไม่ทาการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทาผิดบทบัญญัติของอิสลาม
การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจำนวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับเมื่อครบปี
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือ ผู้ขัดสน (คนยากจน แม่หม้าย เด็กพร้า) คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติมิตรตัดขาด ผู้มีหนี้สินล้นตัว (ไม่ใช่มีหนี้เพราะประพฤติมิชอบ) ผู้พลัดถิ่น (ไม่สามารถกลับสู่ภูมิลำเนาเดิม) ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต และเพื่อประโยชน์ต่อสังคมในวิถีของพระอัลเลาะห์
การประกอบพิธีฮัจน์
การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
ฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลามคือการไปเยี่ยมหรือการเดินทางไปมักกะฮ์ซึ่งถือเสมือนว่าเป็นศูนย์กลางของชาวมุสลิมทั่วโลก
สำหรับ ชาวมุสลิมผู้มีฐานะดี มีสุขภาพดี บรรลุศาสนภาพ โดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ 15 ปี และผู้หญิง 19 ปี
พิธีฮัจญ์ ในชีวิตหนึ่ง มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบียอย่างน้อย 1 ครั้ง เป็นข้อบังคับสาหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้
ต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต การไปประกอบพิธีฮัจญ์ ไม่ใช่เพื่อโอ้อวดหรือเพื่อแสดงความมั่งคั่งของตน แต่เป็นการไปเพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน
{2.1} หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ
เช่น นบีดาวูด(ดาวิด)นบีมูซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชาระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดาเนินชีวิตเหมือนมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ พระเจ้าสร้างอดัม (อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
{2.3} หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาติ
3 ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
การแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกาย โดยแยกออกเป็นเพศได้ดังนี้
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
{2.4} ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
2.4.1)) ข้อปฏิบัติพิธีถือศีลอด
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติใน
เดือนรอมฎอน ตลอด 1 เดือน
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณี และการทาชั่วต่างๆ อย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย / มีประจำเดือน / สตรีมีครรภ์)
2.4.2)) ข้องดเว้นจากการกระทาต่างๆ ดังต่อไปนี้ ตั้งแต่แสงอรุณขึ้น...จนถึงตะวันตกในเดือนรอมฎอน ปี 2563 ในช่วงวันที่ 23 เม.ย. – 22 พ.ค.
1) งดการกินและการดื่ม
2) งดการมีเพศสัมพันธ์
3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
4) งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
2.4.3)) วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
2.4.4))พิธีสุหนัต มอายุระหว่าง 2-10 ขวบ
1) การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่า เป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญ ทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สาหรับการแต่งงาน
2) จะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
3) จะมีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญแก่เด็ก
4) ปัจจุบันนี้ เมื่อไปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะให้แพทย์ที่ทาคลอดทารกเพศชาย
ตัดหนังหุ้มปลายองคชาตของทารกนั้น เป็นการทาพิธีสุหนัตด้วยเลยก็ได้
[3] การดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
{3.3} การดูแลเรื่องอาหาร
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาล ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
{3.4} การดูแลทางจิตวิญญาณ
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสาหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
จัดสถานที่ละหมาด
ผู้มีข้อจากัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจาเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
{3.5} การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
{3.6} การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด หรือขอพรจากพระอัลเลาะห์
4 การขอพรจากพระอัลเลาะห์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส ปลอบโยนให้ผู้ป่วยมีอายุที่ยืนยาวและลดความทุกข์จากการเจ็บป่วย
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลเลาะห์กำหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ ญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
{3.7} ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
3.7.1)) การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
3) นำศพไปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดาร ไม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทาหลุมเพื่อเตรียมฝัง
4) ฝังในหลุมลึก คะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้น หรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ้นมาได้
2) นาศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ 3 ชั้น นามือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว 3 ชั้น
5) เมื่อฝังในที่ใดแล้ว ห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไม่ว่าประการใด ๆ
1) ให้นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกที่ติดอยู่รีดท้อง เพื่อให้สิ่งปรกภายในเคลื่อนที่ออกมา แล้วรดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
6) การฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา หันหน้าศพไปทางทิศตะวันตก แล้วนาดินที่ขุดขึ้นมากลบไปจนหมด
7) หากจำเป็นต้องรักษาศพ ให้รักษาไว้ไม่ให้มีกลิ่นเหม็น ถ้าปล่อยให้มีกลิ่นเหม็นทางศาสนาถือว่าเป็นการบาป
3.7.2)) ข้อแนะนาในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
{{1}} กรณีศพอยู่ที่บ้าน
นำศพมาอาบน้าชาระสิ่งสกปรก รดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
นำศพมาวางบนผ้าข้าวซึ่งปูไว้ 3 ชั้น หรือนำศพบรรจุในหีบศพ
ทำความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้ (ไม่นิยมนาพวงหรีดไปวาง)
ผู้ไปเยี่ยมเคารพศพ ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่ เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
{{2}} กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
{3.8} การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
3) จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
2) คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
4) จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
5) อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
6) คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต
จะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
{3.1} ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง การทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนาให้ปฏิบัติ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
{3.2} การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย หรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้