Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การส่งเสริมสุขอนามัย และการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
บทที่ 3
การส่งเสริมสุขอนามัย
และการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
บุคคลอยู่ในภาวะเจ็บป่วย พยาบาลจะเป็นผู้ให้
การพยาบาล เพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคล
ใช้บทบาทอิสระในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
ของผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้และเข้าใจถึงหลักการและเทคนิคปฏิบัติการพยาบาล
เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทำ ให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือ
ในการจัดกิจกรรมการพยาบาล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ
บุคคลมีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
มีความรู้ ความเข้าใจ ให้ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัย
ให้ความใส่ใจต่อการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้เป็นอย่างดี
ถิ่นที่อยู่
การดำเนินชีวิตในเขตเมืองและเขตชนบท
จะมีการใช้ชีวิต ความเป็นอยู่ที่แตกต่างกัน
่ส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกัน
เศรษฐกิจ
บุคคลฐานะดี
โอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุง
ให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
เศรษฐกิจไม่ดี
ผู้ป่วยต้องทางาน
เพื่อหารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตนเอง
ภาวะเจ็บป่วย
ส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ทำให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
จึงต้องการการดูแลทดแทนจากผู้อื่น
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา
ศึกษาค้นคว้า มีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
บุคคลรู้เพียงอย่างเดียว
ยังไม่พอเพียง
ต้องมีแรงจูงใจที่จะดูแลตนเอง เรียนรู้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
สิ่งแวดล้อม
: ฤดูร้อนอาบน้้ำ ลูบตัวบ่อยครั้ง มีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ภาวะสุขภาพ
มีการเจ็บป่วยทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใจ
ในการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
มีปัญหาสุขภาพร่างกายอ่อนเพลีย ทำให้การดูแล
สุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง / ไม่ได้ปกติ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
เป็นผลต่อการดูแลตนเอง
เช่น ห้ามสระผมขณะมีไข้
เพราะจะทำให้เจ็บปุวยมากขึ้น
ความชอบ
บุคคลที่รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
สนใจตนเอง ดูแลรักษาความสะอาดครบถ้วน
บุคคลที่รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า
ไม่ใส่ใจให้เวลาในการดูแลความสะอาด
อายุ
เด็กเล็ก
ไม่สามารถดูแลสุขอนามัย
ส่วนบุคคลได้ด้วยตนเอง
ผู้สูงอายุ
ความสามารถในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ผู้ดูแลต้องให้การดูแลทดแทนแบบพึ่งพา
ตัวกาหนดกายวิภาคและสรีระของร่างกาย
ควรคานึงถึงในการให้การพยาบาล
เพศ
ต้องการการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ
และไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชาย
ความหมาย
การดูแลตนเอง เช่น การอาบน้ำ การขับถ่าย ปัสาวะ อุจจาระ
ขึ้นอยู่กับุคคลในการตัดสินใจ ให้คุณค่า
และปฎิบัติตนเองในชีวิตประจาวัน
การดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย
การแต่งตัว การออกกาลัง และการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
: ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
4. การพยาบาลตอนก่อนนอน
(Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
จัดท่าให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย
เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลายและเตรียมตัวเข้านอน
หน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
ดูแลเรื่องการให้หม้อนอน / กระบอกปัสสาวะ
5. การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
ให้การพยาบาลตามความต้องการ
ของผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะรดที่นอนเปียกทั้งตัว จะช่วยเช็ดตัว
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเปลี่ยนเสื้อผ้าผ้าปูที่นอน
3. การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
(Afternoon care/ P.M. care)
ทำในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่าย
ในการดูแลทำความสะอาดปาก ฟัน ล้างหน้า
หน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า หากทำกิจกรรม
ภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น.
พยาบาลจะให้การดูแลเพื่อตอบสนอง
ความต้องการขั้นพื้นฐานของผู้ป่วย เรื่องความสะอาด ความสุขสบาย
2. การพยาบาลตอนเช้า
(Morning care/ A.M care)
ถ้าผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้บ้าง / ทำไม่ได้
จะต้องช่วยเหลืออาบน้้ำผู้ป่วยบนเตียง
ให้บริการหม้อนอนในผู้ป่วยหญิง / กระบอกปัสสาวะในผู้ป่วยชาย การจัดท่านอนในท่าที่สุขสบาย
เพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
ไม่ต้องมีคาสั่งของแพทย์เมื่อผู้ป่วย
เข้านอนรักษาโรงพยาบาลจนถึงจำหน่ายกลับบ้าน
1. การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
(Early morning care)
เมื่อผู้ป่วยตื่นนอน ดูแลช่วยเหลือเรื่อง
การขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ ทำความสะอาดร่างกาย
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก
เพื่อให้รู้สึกสดชื่น พร้อมพบปะกับบุคคลอื่น
และจะรับประทานอาหารเช้า
การดูแลความสะอาดร่างกาย
ปากและฟัน
วัตถุประสงค์
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น
มีแผล / การติดเชื้อ เลือดออก / ฝ้าในช่องปาก
หลักการทำความสะอาด
ผู้มีปัญหาในช่องปาก ต้องทำความสะอาด
ปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปาก
และฟันให้เป็นพิเศษ สาลี ที่ใช้เช็ดทำความสะอาดเปลี่ยนบ่อยๆ
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน 5 นาที เพื่อขจัด
คราบหินปูน และเศษอาหารเวลาเช้า
หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
วิธีการทำความสะอาดปากและฟัน
ผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง หรือท่านั่ง
ล้างมือและสวมถุงมือ เพื่อป้องกันจุลินทรีย์
นำเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย เพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง
ให้ผู้ป่วยช่วยถือไว้/วางบนโต๊ะ
พยาบาลแนะนาตนเอง บอกให้ทราบ อธิบายวัตถุประสงค์
และวิธีการทำความสะอาดปากและฟันอย่างง่ายเพื่อความร่วมมือ
บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด แปรงฟันตามขั้นตอน
บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด
ควรแปรงลิ้น ขจัดเศษอาหารและลดจานวนแบคทีเรีย
บ้วนปากและกลั้วคอด้วยน้ำยาบ้วนปาก
วางขนแปรงบนด้านบนของฟันบดเคี้ยว แปรงถูไปมา ทั้งฟันบน - ล่าง
ริมฝีปากแห้ง ให้ทาด้วยวาสลินทา
แปรงฟันล่าง วางขนแปรงที่ระหว่างเหงือกและฟัน
เก็บของใช้ไปทำความสะอาด
และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
แปรงฟันบนด้านนอกและใน ปัดขนแปลงลงล่าง
ผ่านตลอดตัวฟัน ทำจนครบทุกซี่
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
แก้วน้ำ 5. ไม้พันสาลี 6. ชามรูปไต
7.ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสาลี
3% hydrogen peroxide
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก
เครื่องใช้
1.syringe 10 cc
2.ลูกสูบยางแดง
3.น้ำยาบ้วนปาก
วิธีทำความสะอาด
ตรวจดูสภาพ เยื่อบุเหงือก ฟัน และลิ้น
เยื่อบุปากแห้ง มีคราบสกปรก ใช้ไม้พันสาลีชุบ 3% hydrogen peroxide
ผสมน้ำ 1 เท่าตัว ทำความสะอาดให้ทั่วปาก ล้างออกให้หมดด้วยน้ำสะอาด
hydrogen peroxide ที่เจือจาง
ขจัดคราบสกปรก เนื้อตายและเชื้อโรค
ทำความสะอาดเหมือนการแปรงฟัน
ด้านใน ด้านบดเคี้ยวให้ทั่ว
5.ใช้ไม้กดลิ้น พันด้วยผ้าก๊อซเพื่อช่วยอ้าปาก
สะดวกในการทำความสะอาดปาก
สูบฉีดล้างช่องปากให้ทั่ว ดูดน้ำออกให้หมด
ทำความสะอาดเหมือนการแปรงฟันให้ทั่วอย่างถูกวิธี
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ใช้ไม้พันสาลีชุบน้ำยาบ้วนปาก
เช็ดปากให้ผู้ป่วย ถ้าริมฝีปากแห้งทาด้วยวาสลิน
ตรวจดูสภาพของปากและฟัน
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ใช้ลูกสูบยางดูดน้ำ ฉีดล้างช่องปาก ซอกระหว่างกระพุ้งแก้มและฟัน ใช้เครื่องดูดช่วยดูดน้ำออก
ผิวหนัง/ การอาบน้้ำ (Bathing)
จุดประสงค์
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
และส่งเสริมการออกกาลังกาย
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่น
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต
และป้องกันแผลกดทับ
กำจัดสิ่งสกปรก
แบ่งตามสภาวะของผู้ป่วย
2.อาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
เฉพาะบางส่วน
ช่วยเช็ดบางส่วนที่ไม่สามารถเช็ดเองได้ เช่น บริเวณหลัง
การประเมินความสามารถในการทำกิจกรรม
ของผู้ป่วยอยู่ในระดับ 1-2
ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
เช่น หลังการผ่าตัดไส้ติ่ง
3. การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
ชนิดสมบูรณ์
พยาบาลอาบน้ำให้ การประเมินความสามารถ
ในการทำกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่ในระดับ 3-4
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด นอนติดเตียง
1. การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
ใช้ฝักบัว / ตักน้ำอาบร่างกาย เมื่อผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
พยุงเดิน เตรียมของใช้เปิดก๊อกน้ำให้ปรับอุณหภูมิเหมาะสม
ต้องระวังผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม เรียกเป็นครั้งคราว
เพื่อตรวจสอบว่าผู้ป่วยปลอดภัย
ประเมินความสามารถ
ในการทำกิจกรรมผู้ป่วยอยู่ในระดับ 0
การนวดหลัง (Back rub)
หลักการ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้ง / โลชั่น
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ ไม่นวดแรงเกินไป
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
จุดประสงค์
ป้องกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
กระตุ้นผิวหนัง ต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัว / แป้ง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
วิธีปฏิบัติ
ทาแป้ง / โลชั่น (เพียงอย่างเดียว)
นวดบริเวณหลังเรียงลำดับตามขั้นตอน
Kneading
เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
วิธีที่ 2 ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ และนิ้วกลางทั้งสองมือกดและ
บีบข้างกระดูกสันหลังเข้าหากัน คลายออกทาซ้าประมาณ 5-6 ครั้ง
วิธีที่ 1 วางนิ้วก้อย นาง กลาง นิ้วชี้ แนบแนวกระดูกสันหลัง พร้อมปลาย
นิ้วหัวแม่มือบีบกล้ามเนื้อไขสันหลังเข้าหากัน ทำพร้อมกันทั้งสองมือ
Beating
กำมือหลวม ทุบเบา บริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น
Hacking
ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับสับเบาสลับกันเร็ว
กระดกข้อมือสับขวางตามใยกล้ามเนื้อบริเวณตะโพก ก้นและต้นขา
Clapping
ใช้อุ้งมือตบเบา ห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันสองข้าง เกิดช่องว่างตรงกลางฝ่ามือ ตบเบาสลับมือกัน โดยกระดกข้อมือขึ้นลงทั่วบริเวณหลัง
Friction
เป็นการใช้ฝุามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของ
กล้ามเนื้อไหล่ กล้ามเนื้อสีข้าง
Stroking
ลูบตามแนวยาว ลูบขึ้นตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอ อ้อมมาที่ไหล่ สีข้าง และสะโพก
Stroking
ทำซ้ำประมาณ 5-6 ครั้ง
เลื่อนผ้าห่มมาบริเวณก้นกบ ปูผ้าเช็ดตัวทับบนผ้าห่ม
สวมเสื้อผ้าให้ผู้ป่วยและจัดให้นอนในท่าที่สบาย
จัดท่านอนคว่ำและชิดริมเตียง ด้านพยาบาลยืนมี
หมอนเล็ก รองใต้หน้าอก ศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง
มือเหยียดตรงไปตามลำตัวถ้านอนคว่าไม่ได้ให้นอนตะแคง
เก็บของเครื่องใช้ไปทำความสะอาด
และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
นำเครื่องใช้ต่างวางที่โต๊ะข้างเตียง
กั้นม่านมิดชิด ล้างมือ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
แนะนำตนเอง บอกให้
ผู้ป่วยทราบ อธิบายวัตถุประสงค์
เล็บ
เครื่องใช้
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว
กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
วิธีการปฏิบัติ
ยกอ่างน้ำออก เช็ดมือ / เท้าให้แห้ง
ปูกระดาษรอง ตัดเล็บให้ปลายเล็บตรงและข้างไม่โค้งไม่ตามซอกเล็บ ถ้าไม่ตัดเล็บตรงอาจเกิดเล็บขบได้ง่าย ตัดเล็บสั้นเกินไป เสี่ยงต่อการเข้าไปตัดเนื้อ
ใช้ผ้าเช็ดตัวถูสบู่พอกขัดตามซอกเล็บ ง่ามนิ้ว
ถ้าสกปรกมากใช้ปลายตะไบแคะออก
ใช้ตะไบถูเล็บให้ขอบเล็บเรียบ
คลี่ผ้าเช็ดตัวรองอ่างน้า แช่มือ / เท้าสักครู่ เพื่อให้เล็บและขี้เล็บอ่อนตัว ช่วยให้ตัดเล็บได้ง่ายขึ้น
เปลี่ยนน้า ล้างมือ / เท้าอีกครั้งหนึ่ง เช็ดให้แห้ง
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ปุวย จัดวางเพื่อสะดวกในการใช้
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเศษเล็บทิ้งใน
ถังขยะติดเชื้อ กรรไกรตัดเล็บและตะไบเล็บ
ทำความสะอาดด้วยสาลีชุบ แอลกอฮอล์70%
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ลงบันทึกทางการพยาบาล
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ปูองกันการเกิดเล็บขบ
ตา
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสาลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
สังเกตลักษณะและจำนวนของขี้ตา
เพื่อประเมินสภาพของตา
เก็บของใช้ทำความสะอาด
สำลีทิ้งลงถังขยะติดเชื้อ
พลิกตัวผู้ป่วยตะแคงด้านตรงข้าม
ทำความสะอาดตาอีกข้างหนึ่ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS พอหมาด เช็ดจากหัวตาไปหางตา nasolacrimal duct และสาลี 1 ก้อนใช้ครั้งเดียว
จัดให้ผู้ปุวยนอนนอนตะแคงด้าน
ที่ต้องการทำความสะอาด ใส่ถุงมือสะอาด
แนะนาตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
ยกของใช้ไปที่เตียง จัดวางให้สะดวกในการใช้
จุดประสงค์
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
หู
เครื่องใช้
ผ้าสะอาด ชามรูปไต กระดาษเช็ดปาก
0.9% NSS / น้ำสะอาด และสำลีสะอาด / ไม้พันสาลี 4 อัน
วิธีปฏิบัติ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง
สวมถุงมือ และmask
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS / น้ำสะอาด เช็ดทำความสะอาดในช่องหู ใบหู หลังใบหู เช็ดด้วยผ้าสะอาดจนแห้ง
แนะนาตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
เก็บของใช้ไปทำความสะอาด บันทึกการพยาบาล
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
จมูก
เครื่องใช้
ไม้พันสาลีขนาดเล็ก 4-8 อัน ผ้าก๊อซ ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาด / 0.9% NSS
อับสาลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สาลีชุบเบนซิน และสาลีชุบน้ำเกลือใช้ภายนอก
วิธีปฏิบัติ
ใช้สาลีชุบเบนซินเช็ดคราบพลาสเตอร์และที่เป็นยางเหนียวออกให้หมด เช็ดด้วยสาลีชุบน้ำเกลือ และเช็ดตามด้วยสาลีชุบแอลกอฮอล์
ใช้ไม้พันสาลีชุบน้ำ / 0.9% NSS บีบพอหมาด เช็ดในรูจมูกเบาๆ
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะสูง สวมถุงมือ และmask
เก็บของใช้ ทำความสะอาด ลงบันทึกการพยาบาล
แนะนำและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
เส้นผมและหนังศีรษะ
เครื่องใช้
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้าทิ้ง
ผ้ายางรองสระผม เครื่องเป่าผม ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่ยาสระผม หวี ที่หนีบผ้า ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน สาลี 2 ก้อน ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก 1 ผืน แก้วน้ำ
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผุ้ป่วยทราบ วางของใช้บนรถเข็นสระผมเคลื่อนที่ไปที่เตียง จัดวางเครื่องใช้
จัดให้นอนหงายทแยงมุมกับเตียง ศีรษะอยู่ริมเตียง นำผ้าม้วนกลมรองไว้ใต้คอผู้ป่วย
เลื่อนรถสระผมเทียบกับขอบเตียง วางศีรษะบนผ้าผืนที่ม้วนรองใต้คอ จัดชายผ้ายางให้ลงในอ่างล้างผม ใช้ไม้หนีบหนับผ้ายางติดกัน
ใช้หวีสางผมให้ทั่ว ใช้สำลีชุบน้ำบีบให้หมาดใส่หูข้างละก้อน
ใช้ผ้าเช็ดหน้าผืนชุบน้ำบิดหมาด พับสี่เหลี่ยมผืนผ้าปิดตาผู้ป่วย
ใช้แก้วน้ำตักราดผม เทแชมพูใส่มือถูกัน ชโลมแชมพูให้ทั่วศีรษะ
เก็บของใช้ทำความสะอาด ลงบันทึกการพยาบาล
ใช้แก้วน้ำตักน้ำราดผมให้ทั่ว รวบปลายผมบิดให้หมาด ปลดผ้ายางออกจากคอ เช็ดผมให้หมาด ใช้เครื่องเป่าผม ให้แห้ง
วัตถุประสงค์
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
เพศหญิง
วิธีปฏิบัติ
คลุมผ้าตามแนวขวาง ให้นอนหงายชันเข่าขึ้น (dorsal recumbent position)
ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ป่วย
แนะนำตัวและอธิบาย ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตู/กั้นม่าน
เตรียมเครื่องมือที่เตียง เปิด P-care set ใช้ forcepsหยิบสำลี 4 ก้อน วางสำลีและ forceps บนผ้าห่อของ
เทน้ำสบู่บนสำลีในชามกลม
ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือซ้ายแหวก labia ออก และใช้มืออีกข้างหยิบ forceps คีบสาลี ก้อนที่ 1 เช็ดระหว่าง labia majora และ labia minora ไกลตัว
ก้อนที่ 2 เช็ดเหมือนก้อนที่ 1 แต่ใกล้ตัว ก้อนที่ 3 เช็ดตรงกลางผ่าน
เท 0.9% NSS บนสาลีในชาม เช็ดอวัยวะ
สืบพันธุ์ด้วยวิธีเดียวกันก้อนที่ 4, 5 , 6 ส่วนก้อน 7 ใช้เช็ดสะอาด
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad ปิด และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
ให้ผู้ป่วยวางขาลง เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้า เก็บของ และลงบันทึกการพยาบาล
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก กลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
เครื่องใช้
น้ำสบู่ ชุดชำระ ประกอบด้วย ชามกลม สำลีก้อนใหญ่
สำหรับชำระ 7 ก้อนและปากคีบ 1 ตัว
น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอก / น้ำสะอาด
ผ้าปิดตา ถุงมือสะอาด หม้อนอนและ
ผ้าคลุมหม้อนอน ผ้ายางผืนเล็ก ถาดใส่ของ
ภาชนะใส่ขยะ / กระโถน กระดาษชำระ 2-3 ชิ้น
เพศชาย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
และบริเวณใกล้เคียง
ชำระ วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ P-care / flushing
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตา
จัดท่านอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนเข้าใต้ตะโพก จัดหม้อนอนตรงพอดีกับก้น วางภาชนะใส่ขยะใกล้หม้อนอน และชุดชาระไว้ด้านปลายเท้า
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ ยกเครื่องใช้
ไปที่เตียง ปิดประตู/ม่านให้มิดชิด
เตรียมเครื่องมือที่เตียง เปิด P-care set ใช้ forceps ใน set หยิบสาลีออกจากชามกลม วางบนผ้าห่อ 4 ก้อน เทน้ำสบู่ บนสำลีในชามกลม
สำลีก้อนที่ 1 เช็ดบริเวณ glans penis รูเปิดท่อปัสสาะ
ก้อนที่ 2 เช็ดรอบๆองคชาติ
ก้อนที่ 3 เช็ดลูกอัณทะถึงรูทวาร
เท 0.9% NSS บนสาลีในชาม เช็ดก้อนที่ 4, 5 และ 6 ก้อน 7 ใช้เช็ดสะอาด
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้า เก็บของใช้ไปทำความสะอาด ลงบันทึกการพยาบาล
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ เพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงจะนอนหลับได้เร็วและมากกว่า
เพศหญิงไวต่อการกระตุ้นด้วยเสียงมากกว่าเพศชาย
อายุ มีผลตั้งแต่วัยทารกถึงวัยสูงอายุ
ผู้สูงอายุการนอนหลับจะลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
ความไม่สุขสบาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล
ร่างกายตื่นตัวตลอดเวลา หลับยาก / ไม่หลับ
ปัจจัยภายนอก
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
ยา
แสง ทำให้การรับรู้ความแตกต่างของ
เวลากลางวันและกลางคืนลดลง
อุณหภูมิ กระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
เสียง เวลานอนหลับน้อยลง ตื่นบ่อยขึ้น
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ และการนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น ไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว เวลา 3- 5 วัน
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น/ จากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น
กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน
Hypersomnia
การนอนหลับมาก
ง่วงนอนมากกว่าปกติ
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
การนอนชนิด NREM
เมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
เวียนศีรษะ ทนต่อความเจ็บปวดลดลง ภูมิต้านทานลดลง
ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
การนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง
ประสาทหลอน
ภาพรวมจะทำให้การทางานของร่างกาย
ขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
วงจรของการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น) การหลับในช่วงต้น
ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง) คลื่นสมอง ชีพจรจะเต้นช้าลง
ความมีสติรู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง เวลา 20 - 30 นาที
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง) เวลา 30 วินาที - 7 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก) หลับสนิท ใช้เวลา 30 - 50 นาที
ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep: REM)
ช่วยจัดระบบความจา ทำให้จำเรื่องบางเรื่องได้นานขึ้น
เวลาประมาณ 30 นาที หลังจากผ่านช่วงนี้ไป จะกลับ
ที่ระยะที่ 1 ของ NREM ใหม่ หมุนเวียนไปเรื่อยๆ
ตาจะกลอกไปซ้ายขวาอย่างรวดเร็ว
ขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น
สิ่งที่ลดลง
อุณหภูมิของร่างกายลดลง
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic)
จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
การผลิตความร้อนลดลง
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
ความเจ็บปวด การได้ยิน สัมผัส กลิ่น มองเห็นจะลดลง
รูม่านตาหดตัว และปริมาณปัสสาวะลดลง
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆคลายตัว
การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ระเบียบเรียบร้อย ผู้ป่วยสามารถหยิบใช้ได้สะดวก
ความพร้อมของอุปกรณ์
อุณหภูมิ มีการถ่ายเทระบายอากาศดี
เสียง เครื่องอานวยความสะดวกที่มีเสียง เช่น ทีวี วีดีโอ
กลิ่น หอม เหม็น
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
แสงสว่าง ไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position)
ท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนสำหรับ
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง สำหรับผู้ป่วย
ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position สำหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยนอิริยาบถ
ความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจา
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การทำเตียง 4 ชนิด
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
(Open/unoccupied bed)
เครื่องใช้
เครื่องผ้า เหมือนการทาเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
กระบอกฉีดน้าผสมผงซักฟอก ถังน้าสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและบอกผู้ป่วยให้ทราบ ใส่ mask ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และสวมถุงมือสะอาด
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้ำใต้เตียง
ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
เริ่มรื้อผ้าเหมือนการทำเตียงว่าง
กลับที่นอนอีกด้านและเช็ดให้สะอาด
ปูที่นอนใหม่ เหมือนเตียงว่าง พับผ้าห่มทับซ้อน คล้ายพัด (fan fold) ไว้ที่ปลายเตียง
เติมน้้ำในเยือกให้ใหม่ ล้างถังน้า ถอดถุงมือ ถอด mask
และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำเตียงว่าง (Close bed)
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ป่วยใหม่
เครื่องใช้ (เครื่องผ้า)
ผ้าปูที่นอน
2.ผ้ายางขวางเตียง (ถ้าจำเป็น)
3.ผ้าขวางเตียง
4.ปลอกหมอน
5 ผ้าคลุมเตียงผ้าห่ม
6.กระบอกฉีดน้าผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
วิธีปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาดก่อนเตรียมของใช้ให้พร้อม สวม mask ถุงมือและผ้ากันเปื้อนพลาสติก
นำเครื่องผ้าที่เตรียมมาพาดที่ปลายเตียงโต๊ะข้างเตียง เก็บเครื่องใช้อื่น จัดบริเวณเตียงให้มีที่ว่างพอควร
ไขเตียงให้ราบ ปรับเตียงให้สูงพอเหมาะกับผู้ปฏิบัติงาน ล็อคล้อเตียงให้อยู่นิ่ง
วางหมอนที่หัวเตียง รื้อผ้าทุกชิ้น เริ่มจากหัวเตียง พับผ้าทีละชิ้น
ฉีดน้้ำผสมผงซักฟอก ทำความสะอาดที่นอน
สลัดผ้าทิ้งผ้าลงในถังผ้าเปื้อน
ปูผ้าขวางเตียงทับบนผ้ายางในลักษณะเดียวกันเหน็บผ้าส่วนที่ขวางลงใต้ผ้ายาง
ปูผ้าห่ม แบบเดียวกับผ้าปูที่นอน จัดเตียงเข้าที่ จัดเตียงเข้าที่ ล้างถังน้ำ เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
(Occupied bed)
เครื่องมือเหมือนกับการทำเตียงผู้ป่วยลุกได้
วิธีปฏิบัติ
ทำเตียงที่ละด้าน ทำด้านตู้ข้างเตียงก่อน เดินอ้อมไปด้านตู้ข้างเตียงก่อนพลิกตัวพลิกตัวให้นอนตะแคง ยกเหล็กกันเตียง
ดึงชายผ้าที่เหน็บใต้ที่นอนออก ตลบม้วนผ้าขวางเตียงและผ้ายางให้ด้านบนของผ้าอยู่ด้านใน ม้วนชิดหลังผู้ป่วย
เช็ดที่นอนด้วยน้าผสมผงซักฟอก วางผ้าปูที่นอนตามยาวซีกด้านตู้ข้างเตียง ผ้าอยู่ตรงกลางที่นอน ปล่อยชายผ้าห้อยลง อีกครึ่งหนึ่งม้วนชิดหลังผู้ป่วย
เหน็บผ้าให้เรียบร้อย ปูผ้ายาง เช็ดที่นอนที่เหลือ
ห่มผ้าให้ผู้ปุวย หรือผ้า upper sheet ทำมุมผ้าปลายเตียงให้เรียบร้อย
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัด
และผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
เครื่องใช้
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
เครื่องใช้อื่น ถังบรรจุน้ายาฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์ฟอกล้างและผ้าเช็ดเตียง
วิธีปฏิบัติ
เตรียมรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ให้พิงหมอนไวที่พนักหัวเตียง
พับผ้าคลุมเตียงซ้อนผ้าห่มทบไปมาไว้ที่ริมเตียงด้านตรงข้ามที่จะรับ
วางเครื่องใช้ต่างๆใกล้เตียง หากผู้ป่วยต้องงดน้ำ อาหารทางปาก ให้นำป้าย (NPO) ไว้ที่ปลายเตียง
เช่นเดียวกับการทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ แต่มีข้อแตกต่างคือ
หลักปฏิบัติการทำเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อน - หลัง จัดบริเวณรอบให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง
ไม่ควรสะบัดผ้า / ปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ การหยิบของ
ควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวล
ยึดหลักการทาเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
ความหมาย
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย / การพักการทำงานของอวัยวะต่างๆ
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
ให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด
ห้ามลุกออกจากเตียง
การทำกิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
Bed rest
สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้
ตามความสามารถของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัย
ส่วนบุคคลและการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณ
ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนได้เพียงพอ
กับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอ
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วงๆ
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ
ไม่ให้ดื่มน้าหลัง 6 โมงเย็น งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
ประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณและคุณภาพ
มีกิจกรรมทำในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ (แบบแผนที่ 5)
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจ
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
การเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย
เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเอง
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
: สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย
เช่น อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน
การทำหน้าที่ของอวัยวะต่าง ล้มเหลว
การทำงานของเม็ดเลือดขาวและการหลั่งฮอร์โมนเพื่อช่วยในการเจริญเติบโตลดลง
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ความทนในการทำกิจกรรม
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง
ความสนใจดูแลความสะอาด
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ระดับความสามารถในการดูแลตนเอง
ปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติ