Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่8แนวคิดทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ, นางสาวศศิภา…
หน่วยการเรียนรู้ที่8แนวคิดทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ความสาคัญของพฤติกรรมสุขภาพ
การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทาให้เกิดปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับปัญหาสุขภาพ
การบริโภคอาหาร
ไขมัน หวาน เค็ม ทำให้เกิด โรคหัวใจ โรคอ้วน
โรคความดันโลหิตสูง
การสูบบุหรี่ หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทำให้เกิดโรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคปอด
โรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง
พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การแสดงออกของบุคคลทั้งภายในและภายนอกที่สังเกตได้และสังเกตไม่ได้ ในการกระทาหรืองดเว้นการกระทาสิ่งที่มีผลต่อสุขภาพ
ธรรมชาติของพฤติกรรม
พฤติกรรมหนึ่งอาจมีหลายสาเหตุ
ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ
ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ด้านการออกกาลังกาย
ด้านโภชนาการ
6พฤติกรรมสุขภาพดี
ดื่มน้ำวันละ8แก้ว
นั่งสมาธิ ทำจิตใจให้สงบเป็นประจำทุกวัน
ขับถ่ายเป็นประจำทุกวัน
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกำลังกายเป็ฯประจำ
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา
หลักการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
มุ่งที่พฤติกรรมสุขภาพโดยตรง
พฤติกรรมสุขภาพเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้น>> แก้ไขได้โดยกระบวนการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจะเน้นที่สภาพ และเวลาปัจจุบัน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจะเน้นวิธีการทางบวกมากกว่าการทาโทษ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรม
ความรู้
-เป็นข้อเท็จจริง ได้มาจากประสบการณ์ที่พบเห็น เป็นความรู้ ความจา
-เป็นทักษะด้านสมอง มี 6 ขั้นตอน >> รู้-จำ>เข้าใจ >นาไปใช้>วิเคราะห์>สังเคราะห์>ประเมินผล
ทัศนคติ
เป็นความรู้สึกชอบ ไม่ชอบที่บุคคลมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เป็นการประมาณค่าสิ่งของบุคคลหรือแนวคิดว่าดี/ ไม่ดี พอใจ/ ไม่พอใจ มีประโยชน์/ เป็นโทษ
การปฎิบัติ
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออก
วัดผลได้โดยการสังเกต การจัดอันดับ แบบสารวจ แบบบันทึกต่างๆ เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มี 4ปัจจัย> วุฒิภาวะ ยา/ สิ่งเสพติด พันธุกรรม และการเรียนรู้
แบบจำลองพฤติกรรมส่งเสริมสุขภำพของเพนเดอร์
แนวคิด
กระบวนการรับรู้เป็นผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่กระทาต่อเนื่องจนเป็นแบบแผนการดาเนินชีวิต (Life style)
ซึ่งพฤติกรรมเป็นผลจากการได้รับอิทธิพลของปัจจัย 3 ด้าน ได้แก่
ปัจจัยด้านความรู้-การรับรู้
เป็นกระบวนการขั้นแรกของการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติและคงไว้ซึ่งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของบุคคล
เป็นปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อความโน้มเอียงที่บุคคลจะกระทาพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
ปัจจัยทางตรง
การรับรู้ความสาคัญของสุขภาพ
การรับรู้การควบคุมสุขภาพ
การรับรู้ความสามารถภายในตนเอง
การรับรู้คาจากัดความของสุขภาพ
การรับรู้ต่อภาวะสุขภาพ
ปัจจัยส่งเสริม
ปัจจัยร่วมจะส่งผลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพโดยผ่านปัจจัยด้านการรับรู้ของบุคคล
เป็นปัจจัยทางอ้อมต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยย่อย เช่น ด้านร่างกาย เพศ อายุ น้ำหนักส่วนสูง
ด้านสังคมวัฒนธรรม เชื่อชาติ วัฒนธรรม ความเชื่อ
สิ่งชักนาการปฏิบัติ
อิทธิพลระหว่างบุคคล ปัจจัยด้านสถานการณ์/ สิ่งแวดล้อม เช่น พฤติกรรมสุขภาพของครอบครัว ความคาดหวังของบุคคลใกล้ชิด การมีปฏิสัมพันธ์กับบุคลากรสาธารณสุข
แนวทางการประยุกต์แบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพในการปฏิบัติ
1.ทบทวนและสรุปข้อมูลจากการประเมินทั้งหมด
วิเคราะห์พฤติกรรมที่ต้องการให้เกิด
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม โดยแบ่งแบ่งปัจจัยเป็น 3 กลุ่ม 1สมรรถนะที่มีอยู่แล้ว >> เสริมแรง สนับสนุนให้ทาต่อ 2.ปัจจัยที่ส่งผลด้านลบ >> แก้ไข
4.จากข้อ 2 และ 3 นามาระบุเป้าหมาย (พฤติกรรมที่ต้องการ)ทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
5.พัฒนาแผนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยอาศัยความชอบของผู้ใช้บริการ ระยะของการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติพฤติกรรม
นางสาวศศิภา แก้วอาษา 611410068-3 คณะพยาบาลศาสตร์