Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ที่มาของศาสนาอิสลาม
พระคัมของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
ศาสนสถานของชาวมุสลิม คือ มัสยิด
อิสลาม แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตามและการนอบน้อม
มีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกจิการศาสนาอสิลามในประเทศไรทย
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจากกรมการอิสลามประจำจังหวัด ซึ่งเป็นผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน
สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
เดือนครึ่งเสี้ยว คือ เครื่องหมายของกาลเวลา
สองสิ่งนี้ เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสำคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์
ดาว คือ เครื่องหมายนำทาง
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือสาสดาซึ่งมี 258ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ เช่น นบีดาวูด (ดาวิด) นบีมูซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้ซื่อสัตย์ของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือวันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐานต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพพระเจ้าสร้างอดัม
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักการอันเป็นข้อบังคับสำหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้ จะต้องประพฤติ
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
หลักศรัทธา ความเชื่อศาสนา
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้าย
เป้าหมายการดูแล
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด หรือขอพรจากอัลลอฮ์
การขอพรจากพระอัลลอฮ์ พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ ญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
หลักคุณธรรม(อิห์ซาน)
ฮาลาล คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม คือ การกระทำที่ต้องห้าม
การแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกาย
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาเรียกว่า อิบาดะห์
การถือศีลอด
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้น ทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24ชั่วโมง
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกผัน และยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญขาของพระองค์
ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อ คือ มื้อตอนดึกก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่ำตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
การถือศีลอด ทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
พิธีศีลอด
เป็นการอดอหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวรีและการทำชั่วต่างๆอย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันดดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย/มีปีะจำเดือน/สตรีมีครรภ์)
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมฏิบัติในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
ข้องดเว้นจากการกระทำต่างๆ
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์ุ
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
ยกเว้นสำหรับบุคคลบางประเภทต่างๆ
หญิงมีครรภ์
บุคคลที่ทำงานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
คนชรา
การบริจาคศาสนทานซะกาต
ถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปี แล้วไม่ทำการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทำผิดบทบัญญัติของอิสลาม
ผู้มีสิทธิรับซะกาต คือ ผู้ขัดสน คนเข็ญใจ ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติ มิตรตัดขาด ผู้มีหนี้สินล้นตัว ผู้พลัดถิ่น ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาตและเพื่อประโยชน์ต่อสังคมในวิถีพระอัลลอฮ์
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป้นผู้มีจิตใจเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภและเห็นแก่ตัว
การบริจาคซะกาต (การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน) คือ การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจำนวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ได้รับเมื่อครบปี
การละหมาด หรือ สวด(นมาซ หรือ นมัสการ) 5 วันต่อวัน
เวลาเย็น
เวลาพลบค่ำ
เวลากลางวัน
เวลากลางคืน
เวลาย่ำรุ่ง
การประกอบพิธีฮัจญ์
คือ การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย
ฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลามคือการไปเยี่ยมหรือการเดินทางไปมักกะฮ์วึ่งถือเสมือนว่า เป็นศูนยืกลางของชาวมุสลิมทั่วโลก
สำหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดี มีสุขภาพดี บรรลุศาสนภาพ โดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฏิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ เพศชายอายุ 15ปี เพศหญิง 19ปี
การปฏิญาณตนเข้ารับถือศาสนาอิสลาม
พิธีสุหนัต
มีการเชิยญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
มีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญแก่เด็ก
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติ ถือว่าเป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญ ทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
ปัจจุบัน เมื่อไปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะทำให้แพทยืที่ทำคลอดทารกเพศชาย ตัดหนังหุ้มปลายองคชาติของทารกนั้น เป็นการทำพิธีสุหนัตด้วยเลยก็ได้
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ ต้องได้รับพิธีสุหนัต
นิกายซุนนี
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต เป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ ซุ่มนา เป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอาน ผู้นับถือคัมภีร์เป็นผู้ที่เคร่งครัด
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม และไม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคำสอนที่มีอยู่เดิมในคัมภีร์ เพราะป้องกันกันการคลาดเคลื่อนในหลักคำสอนแท้จริง
มีผู้นับถือ 75-90%
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ 700ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
ส่วนใหญ่มีอยู่ในประเทศสาธารรัฐตุรกี ซาอุดิอาระเบีย แอฟริกาและชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์หรือซิเอฮ์
แยกออกมาจากนิกายซุนนี พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากการหลิบอะลีมาแล้ว เชื้อสายของอาลีควรจะได้รับการแต่งตั้งหรือทำการเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าทางศาสนาออกมาอีก
อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมูฮัมมัด
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตามหรือสาวก
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาปและเป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า เป็นผู้แปลถ้อยคำของพระเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน
มีผู้นับถือ 10-20%
นิกายชีอะอ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
แนวคิดสำคัญ :ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการรุณฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การฆ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
ห้ามทำแท้ง การทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การดูแลเรื่องอาหาร
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎีกา ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
การดูแลอาหารเป็นอาหารฮาลาล ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการรับประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกันกับผู้ป่วย
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกาย หากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกปิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วยหรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
การดูแลทางจิตวิญญาณ
การสวดมนต์จะทำวันละ 5ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอดและผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป้นะข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธีหรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
จัดสถานที่ละหมาด
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ใดและเมื่อใดเขาจะตาย
พระเจ้าเป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์
ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสำหรับผู้ศรัทธา