Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม⭐🌙
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน🌙⭐
เดือนครึ่งเสี้ยว คือเครื่องหมายของกาลเวลา เวลาที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทำของตนเอง เป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือ ในเดือนรอมฎอน ที่ต้องอาศัยการดูดวงจันทร์เพื่อเข้าสู่เดือนแห่งการถือศีล-อด
ดาว คือเครื่องหมายนำทาง
นิกายของศาสนาอิสลาม🕌
นิกายซุนนี(Sunni)👰🏻
พวกซุนนีถือว่าภายหลังจากที่นบีมุฮัมมัดเสียชีวิตแล้ว และได้มีกาหลิบที่สืบต่อมาอีกเพียง 4 คนเท่านั้น
ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ 700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม และไม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคาสอนที่มีอยู่
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกี ซาอุดิอาระเบีย แอฟริกา และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์ (Shiah)
แยกออกมาจากนิกายซุนนี เชื่อว่าเชื้อสายของอาลีควรจะได้รับการแต่งตั้งหรือทาการเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าทางศาสนาออกมาอีก
อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
ชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาป และ เป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
หลักการอันเป็นข้อบังคับ⁉
เริ่มตั้งแต่อายุ 3ขวบเป็นต้นไป
1.หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม👳🏻♂️
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ พระเจ้าสร้างอดัม(อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือไม่มีการดาเนินชีวิตเหมือนมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ เช่น นบีดาวูด(ดาวิด) นบีมูซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา👳🏻♀️
เรียกว่า อิบาดะห์
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
5) เวลากลางคืน
2) เวลากลางวัน
4) เวลาพลบค่ำ
1) เวลาย่ำรุ่ง
3) เวลาเย็น
3.การถือศีลอด
• เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้า
• ทำให้ร่างกายไรด้ละลายส่วนเกินของไรขมันที่สะสมเอาไว้
เพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
รับประทานอาหารสองมื้อ คือ มื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่าตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)🕌
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Haromคือ การกระทำที่ต้องห้าม
มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดาเนินวิถีชีวิต
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือเรียกว่า การสวมใส่ “ ฮิญาบ"
พิธีกรรมต่างๆ🙇🏻♀️
พิธีสุหนัต🙇🏻♀️
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติ เป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
มีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2 3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
มีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญ
ปัจจุบันนี้ เมื่อไรปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะให้แพทย์ที่ทำคลอดทารกเพศชาย ตัดหนังหุ้มปลายองคชาตของทารกนั้น เป็นการทำพิธีสุหนัตด้วยเลยก็ไรด้
พิธีถือศีลอด🙇🏻♀️
ชาวมุสลิมปฏิบัติในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
ข้องดเว้นจากการกระทำต่างๆ❌
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
ข้อยกเว้น✅
1) คนชรา
2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
4) บุคคลที่ทางานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
การบริจาคศาสนทาน "ซะกาต"🧧
การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจานวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ไรด้รับเมื่อครบปี
ลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
ไม่ทำการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทำผิดบทบัญญัติของอิสลาม
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือ ผู้ขัดสน, คนเข็ญใจ, ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติมิตรตัดขาด ผู้มีหนี้สินล้นตัว. ผู้พลัดถิ่น, ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต และเพื่อประโยชน์ต่อสังคม
วัตถุประสงค์
1) เพื่อชาระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
พิธีฮัจญ์🙇🏻♀️
สาหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดีมีสุขภาพดีบรรลุศาสนภาพโดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ 15ปี และผู้หญิง 19ปี
การประกอบพิธีฮัจญ์✅
การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย อย่างน้อย 1ครั้ง
เป็นข้อบังคับสำหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้ และไม่ทำให้ครอบครัวเดือดร้อนระหว่างเดินทาง กำหนดเวลาของการไปทำพิธีฮัจญ์ในปีหนึ่งๆ มุสลิมทั่วโลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์พร้อมกัน 1 ครั้ง
สถานที่ในการประกอบพิธีฮัจญ์มีเพียงแห่งเดียวโลกมุสลิม
ทุกคนเท่าเทียมกัน เป็นพี่น้องกัน หัวใจจำนวนล้านดวงในที่เดียวกันต่างมุ่งอยู่ที่พระเจ้าองค์เดียวกัน
อยู่ในความสารวม ความนอบน้อมต่อพระองค์ ขอพรจากพระองค์ เป็นการมาหยุด มาพักแรมอยู่ด้วยกันด้วยความสงบ
บุคคลที่มีความสามารถในการประกอบพิธีฮัจญ์ หมายถึง มุสลิมที่มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ มีสติปัญญา มีทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่าย และเส้นทางที่เดินทางไรปจะต้องปลอดภัย
ผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต เพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน
แนวคิดสาคัญ💡
การดูแลเรื่องอาหาร🥘
จะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
จะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
อาหาร ฮาลาล ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป🚑
ห้ามทำแท้ง จะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล👨🏻🏭
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว
ไม่ได้ห้ามการไรด้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย หรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
การดูแลทางจิตวิญญาณ😃
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทาพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
จัดสถานที่ละหมาด การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย👴🏻
เป้าหมายการดูแล
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทางานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กาหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา การเจ็บป่วยเป็นสิทธิของพระอัลลอฮ์เพียงผู้เดียวเท่านั้น
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ ญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด ไรม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
การส่งเสริมกาลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทาให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย ดังคากล่าวของท่านนบีมูฮาหมัด(ศ็อลฯ)
การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม👻
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ใดและเมื่อใดเขาจะตาย
พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์ตาย
ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสำหรับผู้ศรัทธา
ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็นการดูแลให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
ทุกคนต้องรำลึกถึงความตายอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อทุกคนได้เตรียมตัวเตรียมใจและพร้อมที่จะกลับไปสู่พระอัลเลาะฮ์
ชีวิตมนุษย์มาจากพระองค์ประทานมาให้สุดท้ายต้องกลับไรปหาพระองค์
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม🕌
ตายด้วยโรคภัยไข้เจ็บ หรือด้วยพิษบาดแผล
การฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา หันหน้าศพไรปทางทิศตะวันตก
หากจำเป็นต้องรักษาศพ ให้รักษาไว้ไม่ให้มีกลิ่นเหม็น ถ้าปล่อยให้มีกลิ่นเหม็นทางศาสนาถือว่าเป็นการบาป
ฝังในหลุมลึก คะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้น หรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ้นมาได้ห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไม่ว่าประการใด ๆ
นำศพไปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดาร ไม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ 3 ชั้น
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกที่ติดอยู่รีดท้อง
ข้อแนะนาในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
ผู้ไปเยี่ยมเคารพศพ ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่ เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
ทำความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้ (ไม่นิยมนาพวงหรีดไปวาง) มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
พิธีศพ
ฝังเสร็จจะกลบดินหลุมฝังให้นูนขึ้นมา และปักไม้ธรรมดาไว้ที่หลุมฝังศพ จะไม่มีการโบกปูนหรือทำให้ถาวรเพื่อการไปเคารพบูชาที่หลุมฝังศพอย่างเด็ดขาด
ต้องจัดการฝังให้เรียบร้อยภายใน 24 ชั่วโมง
ก่อนนำไปฝัง จะต้องนำไปยังมัสยิดเพื่อละหมาดให้ผู้ตายและอวยพรขอพรให้แก่ผู้ตาย
ให้รีบไปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสาน และให้รีบละหมาด(บทสวดสาหรับผู้เสียชีวิต/คนตาย)
ไม่ต้องแต่งชุดดา เพราะไม่มีการไว้ ทุกข์การไปบ้านผู้ตาย จะต้องไม่ไปเป็นภาระแก่เจ้าของบ้านโดยรปรับประทานอาหารหรือแม้แต่น้ำ
เมื่อมี “มัยยิสหรือมัยยัต”(คนตาย) ขึ้นในหมู่บ้าน เป็นหน้าที่ของมุสลิมที่จะต้อง ไปเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือโดยไม่ต้องรอรับคำเชิญ
การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
7 ดำเนินการตามคาสั่งเสียได้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น
6 คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต จะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
5 อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
4 จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากาไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
3 จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
2 คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
1 ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ