Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
1.ศาสนาอิสลาม
ต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า
2สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว คือเครื่องหมายนำทาง
เดือนครึ่งเสี้ยว คือเครื่องหมายของกาลเวลา
เดือนรอมฎอน
3.คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
คณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540
จุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
5.นิกายชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ (Shiah)
แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศ
อิหร่าน อิรัก อินเดีย
อัฟกานิสถาน และซีเรีย
4.นิกายซุนนี (Sunni)
นิกายซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศ
สาธารณรัฐตุรกี
ซาอุดิอาระเบีย
แอฟริกา
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
ประเทศไทย
หลักการอันเป็นข้อบังคับ สำหรับมุสลิมทุกคน
เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
1.หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
6.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5 เวลาต่อวัน
3.การถือศีลอด
7.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
ทำละหมาดวันละ 5 เวลา คือ
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
1) เวลาย่ำรุ่ง
4) เวลาพลบค่ำ
5) เวลากลางคืน
8.การถือศีลอด
การฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้า
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนด
จะรับประทานอาหารสองมื้อ คือ
มื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง
มื้อค่ำตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
ทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
ปฎิบัติในเดือนรอมฎอน ตลอด 1 เดือน
ข้องดเว้นจากการกระทำต่างๆตั้งแต่แสงอรุณขึ้นถึงตะวันตกในเดือนรอมฎอน
1) งดการกินและการดื่ม
2) งดการมีเพศสัมพันธ์
3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
4) งดการแสดงอารมณ์ร้าย
ยกเว้นสำหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้
1) คนชรา
2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
4) บุคคลที่ทำงานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
9.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
10.พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ จะต้องได้รับ
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาต
เพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
เชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3 คน
มีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่า
11การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน
วัตถุประสงค์
เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์
เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
12.การประกอบพิธีฮัจญ์
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
โดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่
ผู้ชายอายุ 15 ปี
ผู้หญิง 19 ปี
สถานที่นี้มีทั้งราชาและยาจก นายและบ่าว ผิวขาว ผิวดำ
สำหรับมุสลิมที่มีสุขภาพดี
13.ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง
ขลิบอวัยวะเพศชาย
ช่วยให้ฆ่าตัวตายเป็นเรื่องต้องห้าม
ผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝัง
14.การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย
15การดูแลเรื่องอาหาร
อาหาร ฮาลาล
ใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่ม
16.การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธ
การสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
หันหน้าไปทางทิศตะวันตก
เอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออก
17.การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
เอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด
อิสลามเน้นให้ผู้ป่วยรำลึกถึงพระอัลลอฮ์และใช้ความอดทนเป็นหลัก
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
อ่านบทสวดเรียกว่า”ยาซีน”ในอัลกุรอาน
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย
ขอพรจากพระอัลลอฮ์ พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน
ทำให้เขารู้สึกอบอุ่นไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย
18.ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
ยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์ตาย
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
รำลึกถึงความตายให้มาก
19.การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรก
นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ ๓ ชั้น
นำมือไว้บนอกมือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว ๓ ชั้น
นำศพไปบรรจุในหีบ
ห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไม่ว่าประการใด ๆ
วางศพนอนตะแคงข้างขวา
วางศพนอนตะแคงข้างขวา
หันหน้าศพไปทางทิศตะวันตก
20.ข้ออแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
แสดงความเสียใจกับญาติ
รอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
นำศพมาวางบนผ้าข้าวซึ่งปูไว้ ๓ ชั้น หรือนำศพบรรจุในหีบศพ
ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิต
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรก
ทำความเคารพศพ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
21.พิธีศพ
ช่วยเหลือโดยไม่ต้องรอรับคำเชิญหรือการ์ดเชิญ
ให้แต่งกายธรรมดา
ให้รีบไปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสาน
ให้รีบละหมาด
ก่อนนำไปฝัง จะต้องนำไปยังมัสยิด
จัดการฝังให้เรียบร้อยภายใน 24 ชั่วโมง
กลบดินหลุมฝังให้นูนขึ้นมา และปักไม้ธรรมดา
22.การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสีย
มอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
2) คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
4)์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร
6)ต้องประสบผลค่อนข้างสูง
3)เพราะความจำเป็นทางการแพทย์
5) อวัยวะที่บริจาค้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
7) ดำเนินการตามคำสั่งเสียได้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตาย
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ