Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture)
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดํารงชีวิตอยู่ต่อไป ได้ในสังคมของตน ภาษาอังกฤษ คําว่า “culture”
พื้นฐานที่สําคัญของ วัฒนธรรมไว้ 6 ประการคือ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas) และค่านิยมทางสังคมเป็นตัวกําหนดมาตรฐาน พฤติกรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้(Cultureislearned)ซึ่งมนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยใน สังคมจนกลายเป็น “มรดกสังคม”
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์(Symbol)ซึ่งกล่าวว่าพฤติกรรมของมนุษย์มีต้นกําเนิด มาจากการใช้สัญลักษณ์
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สังคมวิทยาได้จําแนกวัฒนธรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการ ประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ (Material) ทั้งที่เป็นเครื่องมือและสัญลักษณ์
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
ความสําคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกําหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
การศึกษาวัฒนธรรมจะทําให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
ค่านิยมของสังคม
ทําให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทําให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทําให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทําให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทําให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการ
ในการดําเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล มี 2 ลักษณะ คือ เกิดจากประสบการณ์ตรง และเกิดจากการ แลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ และการเรียนรู้
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล ได้แก่ ศาสนา อายุ เพศ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอํานาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์
ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของ มนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกใน ครรภ์ การฝากครรภ์
ระยะคลอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร
การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด ได้แก่ ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องกรรม ความเชื่อ เรื่องสมดุลธาตุ 4 ความเชื่อเรื่องมลทินของร่างกาย
การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด ได้แก่ การอยู่ไฟ การนาบหม้อ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกําเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตกมีหลักการดูแลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน คือ มีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด โดยมีวัตถุประสงค์ให้มารดาและทารกสมบูรณ์แข็งแรง
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา ปัจจัยชี้บ่งถึงความชรา เช่น ภาวะหมดประจําเดือนในเพศ หญิง การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในเพศชาย
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน ได้แก่ การใช้สมุนไพร เช่น สมุนไพรตํารับ (ยาดอง ยาบํารุง) สมุนไพรเดี่ยว
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา กําหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป
การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก ได้แก่ การดูแลด้านโภชนาการ การ ดูแลด้านฮอร์โมน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณ กฎแห่งกรรม
การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ
การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน จะมุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิต
วิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
จะพิจารณาจากการหยุดทํางานของหัวใจและการทํางานของแกนสมอง
การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ
ค่านิยมทางสังคม
ครอบครัว เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล เพราะครอบครัว เป็นหน่วยแรกที่อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมให้แก่คนตั้งแต่เกิดจนโต ส
โรงเรียน คือสถาบันทางสังคมที่มีส่วนในการสร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็กเป็นอย่างมากในการสั่ง สอนเด็กให้เกิด ความคิด ความเชื่อ
สถาบันศาสนา บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ ก็มีส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรม อันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน การคบหาสมาคมกับเพื่อนในรุ่นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นกลุ่มเพื่อนสนิท หรือ การทํากิจกรรมอื่นๆในสังคมวัยรุ่น
สื่อมวลชน ในปัจจุบันบุคคลได้รับความรู้และความคิดจากสื่อมวลชนเป็นอันมากในบางกรณีบุคคลก็ยอมรับเอาความรู้
องค์การของรัฐบาล รัฐย่อมมีส่วนในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมให้แก่สังคมตามปกติรัฐจะควบคุมโรงเรียนและสนับสนุนสถาบันศาสนาให้ทําหน้าที่ในด้านนี้
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ครอบคลุมการดูแบสุขภาพทั้ง 4 มิติ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค ในแต่ละสังคมต่างมีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกัน 3 ประเภท
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
กระบวนการที่ประกอบด้วยแนวคิดหลัก 5 ประการ โดย ใช้หลัก ASKED ดังนี้
Awareness หมายถึง
หากบุคลากรสุขภาพ (พยาบาล) ยังไม่เข้าใจลึกซึ้งในวัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิดพฤติกรรมการ บริการ ที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมได้
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural awareness) หมายถึง กระบวนการรู้คิดของ บุคลากร
สุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม
Skill หมายถึง
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill) คือ ความสามารถของบุคลากรสุขภาพในการเก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
Knowledge หมายถึง
การมีองคค์วามรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม(culturalknowledge)คือการแสวงหาความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ (world view)
องค์ความรู้เหล่านี้สามารถศึกษาได้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ
องค์ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรมยังรวมไปถึงลักษณะเฉพาะ ทางด้านร่างกาย ชีววิทยา
Encounter หมายถึง
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter) หมายถึง การที่บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสม
การหาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วมในสังคมต่างวัฒนธรรม
Desire หมายถึง
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire) ของบุคลากรทางสุขภาพ ที่ทําให้ต้องการเข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ สามารถจัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษดังนี้
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ เช่น สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดิน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ เช่น การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ