Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม, image, image,…
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ความหมายและความสำคัญ
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
เดือนครึ่งเสี้ยว คือเครื่องหมายของกาลเวลา การกาหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่าเดือนคือเวลาที่ผ่านไรปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระท าของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งเสี้ยวสาคัญที่สุดจะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือในเดือนรอมฎอน ที่ต้องอาศัยการดูดวงจันทร์เพื่อเข้าสู่เดือนแห่งการถือศีล-อด
ดาว คือเครื่องหมายนาทาง
“อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
ผู้นับถือศาสนาอิสลามคือมุสลิมเป็นภาษาอาหรับแปลว่าผู้ที่นอบน้อมยอมจำนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่าสถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียนเป็นที่พบปะชุมนุมทำบุญเลี้ยงฉลองจัดพิธีมงคลสมรสสถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พำนัก
ศาสดาของศาสนาอิสลามคือนบีมูฮัมหมัด
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจากกรรมการอิสลามประจำจังหวัด มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6ปี
คณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไรทย
ตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 ระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
นิกาย
นิกายซุนนี(Sunni)
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม และไรม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคำสอนที่มีอยู่เดิมในคัมภีร์
พวกซุนนีถือว่าภายหลังจากที่นบีมุฮัมมัดเสียชีวิตแล้ว
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต เป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ”ซุมนาเป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอาน
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
มีผู้นับถือ75-90%
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์(Shiah)
แยกออกมาจากนิกายซุนนี พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากกาหลิบอะลีมาแล้ว
เชื่อกันว่าอิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์แปลว่าผู้ปฏิบัติตามหรือสาวก
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาปและเป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า เป็นผู้แปลถ้อยคำของพระเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน
มีผู้นับถือ10-20%
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
แนวคิดสำคัญ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บแล้วให้การละหมาดหรือขอพรจากอัลลอฮ์
อ่านบทสวดเรียกว่า”ยาซีน”ในอัลกุรอาน
อิสลามเน้นให้ผู้ป่วยรำลึกถึงพระอัลลอฮ์และใช้ความอดทนเป็นหลัก
คำขอพรดังกล่าวมีความว่าในนามของพระผู้เป็นเจ้า(อัลลอฮ์) ฉันได้อยู่ภายใต้การคุ้มครองและให้อำนาจปกครองของพระองค์
การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
การส่งเสริมกำลังใจตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทนทำให้เขารู้สึกอบอุ่นและเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วยว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กาหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิดไม่ทอดทิ้งผู้ป่วยถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
นำศพไปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดารไม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
ข้อแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพ
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
นาศพมาอาบน้าชาระสิ่งสกปรก
นำศพมาวางบนผ้าข้าวซึ่งปูไว้3ชั้น
กรณีศพอยู่ที่มัสยิด
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็นการดูแลให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
อิสลามไม่ให้มนุษย์ฆ่าตัวตายแต่ทุกคนต้องรำลึกถึงความตายอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อทุกคนไรด้เตรียมตัวเตรียมใจและพร้อมที่จะกลับไปสู่พระอัลเลาะฮ์
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
มุสลิมไรม่ไรด้ห้ามการไรด้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ถ้ามีความจาเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไรปด้วย
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายไรด้ทั่ว หากไรม่สามารถจัดหาให้ไรด้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองไรด้
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
การดูแลทางจิตวิญญาณ
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญาผู้หญิงหลังคลอดและผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทาพิธีหรือจัดทาอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไรม่สนับสนุนให้ทำ
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนาให้ปฏิบัติ
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้ามยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
ห้ามทำแท้งการทำแท้งจะทาได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การดูแลเรื่องอาหาร
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทานหากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
การอดอาหารจะทาปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาลไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
การอุทิศศพ
ผู้สั่งเสียยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
พิธีศพ
ไม่ต้องแต่งชุดดำ
ให้รีบไรปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสานและให้รีบละหมาด(บทสวดสาหรับผู้เสียชีวิต/คนตาย)
หลักการอันเป็นข้อบังคับ
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ฮาลาล Halal คือการกระทาที่อนุญาต
ฮารอม Haromคือการกระทำที่ต้องห้ามการแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกายโดยแยกออกเป็นเพศ
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิงให้ปิดทั้งร่างยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
วัฒนธรรมแต่งกายของมุสลิมทั้งชายและหญิงมีสาระส าคัญเหมือนกันคือ มิดชิดและปิดศีรษะ เรียกว่า การสวมใส่ “ ฮิญาบ“
หลักศรัทธาความเชื่อในศาสนา
ศรัทธาในบรรดาศาสนทู
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพพระเจ้าสร้างอดัม(อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลามไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา(อิบาดะห์)
การถือศีลอด
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกายทาให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อคือมื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่ำตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไรว้อย่างตายตัวนั้น
การถือศีลอดทาให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยำเกรงต่อพระเจ้า
การปฏิบัติ
ปฏิบัติในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณีและการทาชั่วต่างๆอย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะไรด้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย/ มีประจ าเดือน / สตรีมีครรภ์)
ข้องดเว้นจากการกระทำต่างๆ ดังต่อไปนี้ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนถึงตะวันตกในเดือนรอมฎอน
งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไรปในอวัยวะภายใน
งดการกินและการดื่ม
การบริจาคศาสนทานซะกาต
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือผู้ขัดสน คนเข็ญใจ ผู้มีหนี้สินล้นตัว ผู้พลัดถิ่น ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต
ลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
การบริจาคซะกาต (การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน)
วัตถุประสงค์
เพื่อชาระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไรม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ
เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตากรุณาเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
การประกอบพิธีฮัจญ์
ผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต การไรปประกอบพิธีฮัจญ์มิใช่เพื่อโอ้อวดหรือเพื่อแสดงความมั่งคั่งของตนแต่เป็นการไรปเพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน
โดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ15ปี และผู้หญิง19ปี
คำว่า ฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลามคือการไปเยี่ยมหรือการเดินทางไปมักกะฮ์ซึ่งถือเสมือนว่าเป็นศูนย์กลางของชาวมุสลิมทั่วโลก
สำหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดีมีสุขภาพดีบรรลุศาสนภาพ
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบียอย่างน้อย 1 ครั้ง เป็นข้อบังคับส าหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
เวลากลางวัน
เวลาเย็น
เวลาพลบค่ำ
เวลาย่ำรุ่ง
เวลากลางคืน
พิธีสุหนัต
เชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย2-3 คน
มีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สาหรับการแต่งงาน
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ จะต้องไรด้รับพิธีสุหนัต