Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การทำความสะอาดร่างกาย
เมื่อบุคคลอยู่ในภาวะเจ็บป่วย พยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาล
เพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยนั้น
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
ภาวะสุขภาพ
การศึกษา
เพศ
เศรษฐกิจ
อายุ
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
ความชอบ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถ
พิจารณากระทาได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคาสั่งของแพทย์
พยาบาลจะให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการ
ขั้นพื้นฐานของผู้ป่วยในเรื่องความสะอาดของร่างกาย ความสุขสบาย
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้า (Bathing)
เป็นการขจัดของเสียที่ร่างกายขับออกมา
การอาบน้าที่ห้องน้า (Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
Kneading
Beating
Friction
Hacking
Stroking
Clapping
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน
และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร
และน้าทางปากได้ ต้องทาความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ
สาลีที่ใช้เช็ดทาความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
การดูแลความสะอาดของเล็บ
การทำความสะอาดเล็บและตัดให้เรียบร้อย
เป็นการช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดี
ทำการตัดให้สั้นตามเหมาะสมกับการใช้งาน
การดูแลความสะอาดของตา
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
การดูแลทำความสะอาดของหู
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ปุวยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
Bed rest
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมการเจริญเติบโต
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
ร่างกายสูญเสียพลังงานจากการเผาผลาญชนิดแคทตาบอลิซึม (catabolism) มาก
ค่าความดันก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas) เปลี่ยนแปลง
ความทนต่อความเจ็บปวดลดลง
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
มีอาการหวาดระแวงและหูแว่ว
ไม่สามารถยับยั้งพฤติกรรมความก้าวร้าวของตนเองได้
มีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
นอนหลับไม่เพียงพอ
ผลกระทบทางสังคม
ความมั่นใจในการทางานลดลง
มีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
สรีรวิทยาของร่างกาย
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
อุณหภูมิ
แสง
เสียง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
ยา
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ
และการนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้้น
(Short term insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรั้ง
(Chronic insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
(Transient insomnia)
Hypersomnia
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
กลุ่มอื่น ๆ
การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis)
การกรน (primary snoring)
การนอนกัดฟัน (sleep bruxism)
การไหลตาย (sudden unexplained nocturnal death)
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิ
เสียง
ความพร้อมของอุปกรณ์
กลิ่น
ความสะอาด
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว
ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วย
Prone position
Lateral position
Fowler’s position
Sitting position
Dorsal position (supine position)
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
การทำเตียงว่าง (Close bed)
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
(Surgical/ether/anesthetic bed)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
การพักผ่อนและการนอนหลับ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)