Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
สัญญาลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว คือเครื่องหมายนาทาง บอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย ชาวอาหรับสมัยก่อนเดินทางตอนกลางคืนเพราะกลางวันอากาศกลางทะเลทรายจะร้อนมาก ดาวคือเครื่องหมายบอกทิศทางในการเดินทาง
เดือน คือเครื่องหมายของกาลเวลา เดือนส่งผลถึงระดับน้าขึ้นลงที่แตกต่างกัน เดือนคือการกาหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่า เดือนคือเวลาที่พ่านไรปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทาของตนเอง และเดือนที่สาคัญที่สุดที่เป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือ เดือนรอมฎอน
สองสิ่งนี้เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสาคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ชาติมุสลิมจึงให้ความสาคัญและนามาเป็นสัญลักษ์ของอิสลาม
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไรทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 ซึ่งระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
หลักการอันเป็นข้อบังคับสำหรับบุคคล เป็นสำหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้ ต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ 3ขวบเป็นต้นไป แบ่งออกเป็น 3ส่วน
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
1.หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นอยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ พระเจ้าสร้างอดัม
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดาเนินชีวิตเหมื่อมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดา มี 258 ท่านในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ เช่น นบีดาวูด(ดาวิด) นบีมูซา(โมเสส) นบีอีซา(เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลกมนุษญ์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
3.การถือศีลอด
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)ผู้เป็นมุสลิมจะต้องทำละหมาดวันละ 5 เวลา คือ
1) เวลาย่ำรุ่ง
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่ำ
5) เวลากลางคืน
ข้องดเว้นจากการกระทำต่างๆ ดังต่อไปนี้ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนถึงตะวันตกในเดือนรอมฎอนปี2563 23 เมย. ถึง 23 พค.
1) งดการกินและการดื่ม
2) งดการมีเพศสัมพันธ์
3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไรปในอวัยวะภายใน
4) งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
มุสลิมที่บรรลุนิติภาวะทางร่างกายต้องละหมาดและต้องถือศีลอดทุกคนยกเว้นสาหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้
3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
4) บุคคลที่ทำงานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม
2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
1) คนชรา
6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
การประกอบพิธีฮัจญ์
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
คำว่า ฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลามคือการไปเยี่ยมหรือการเดินทางไปมักกะฮ์ซึ่งถือเสมือนว่าเป็นศูนย์กลางของชาวมุสลิมทั่วโลก
เป็นสถานที่พบปะระหว่างมุสลิม คำนี้มีความหมายว่า ออกเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจญ์ ในชีวิตหนึ่ง มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบียอย่างน้อย 1 ครั้ง เป็นข้อบังคับสาหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองไรด้
มุสลิมไม่ได้ห้ามการไรด้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
การดูแลเรื่องอาหาร
อาหาร ฮาลาล
ไม่มีหมู ไม่มีแอลกอฮอล์
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลทางจิตวิญญาณ
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
จัดสถานที่ละหมาด
ผู้มีข้อจากัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
1.มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย
4.การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
5.การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
3.ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด
2.ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
6.ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ