Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (ศาสนาพราห์ม…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
(ศาสนาพราห์ม-ฮินดู)
ความเชื่อในศาสนาพราห์ม-ฮินดู
มีปรัชญาหลายแขนงแต่ก็สามารถเชื่อมโยงถึงกันผ่านแนวคิดที่มีร่วมกันมีพิธีกรรมที่คล้ายคลึงกัน,จักรวาลวิทยาฮนนดู,คัมภีร์ฮินดูและสถานที่แสวงบุญ
คัมภีร์ของศาสนาฮินดู ได้แก่ ศรุติ (จากการฟัง) และสมรติ (จากการจำ)
คัมภีร์ประกอบด้วยปรัชญาฮินดู,ประมวลเรื่องปรัมปราฮินดู,พระเวท,โยคะ,
พิธีกรรม,อาคม และการสร้างโบสถ์พราหมณ์
คัมภีร์เล่มสำคัญ ได้แก่ พระเวท,อุปนิษัท,ภควัทคีตา,รามายณะ และอาคม
ศาสนาพิราห์ม-ฮินดูมีแนวคิดหลักสำคัญที่สนับสนุนการตั้งคำถามต่อที่มาและเนื้อความของคัมภีร์เพิื่อให้เข้าใจสัจธรรมต่างๆได้อย่างลึกซึ้งและสร้างประเพณีหรือแนวคิดต่อยอดในอนาคต
หลักปฏิบัติของศาสนาพราห์ม-ฮินดู
อาศรม
ขั้นตอนการดำเนินชีวิตของชาวฮินดู เฉพาะที่เป็นพราหมณ์วัยต่างๆ โดยกำหนดเกณฑ์อายุคนไว้ 100 ปี แบ่งช่วงของการไว้ชีวิตไว้ 4 ตอน ตอนละ 25 ปี ช่วงชีวิตแต่ละช่วงเรียกว่า อาศรม(วัย)
อาศรมทั้ง 4 ช่วง มีดังนี้
คฤหัสถาศรม
อยู่ในช่วงอายุ 15-40 ปี
วานปรัสถาศรม
อยู่ในช่วงอายุ 40-60 ปี
พรหมจรยอาศรม
เริ่มตั้งแต่อายุ 8-15 ปี ผู้เข้าสู่อาศรมนี้เรียกว่า พรหมจารี
สันยัสตาศรม
อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป สำหรับผู้ปรารถนาความหลุดพ้น(โมกษะ) จะออกบวชเป็น "สันยาสี" เมื่อบวชแล้วจะสึกไม่ได้
โมกษะ
คือ การหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ ถือว่าเป็นหลักความดีสูงสุด
ดังคำสอนของศาสนาฮินดูสอนว่า
"ผู้ใดรู้แจ้งในอาตมันของตนว่าเป็นหลักอาตมันของโลกพรหมแล้ว ผู้นั้นย่อมพ้นจากสังสาระการเวียนว่าย ตาย เกิด และจะไม่ปฏิสนธิอีก"
สาระสำคัญ
ป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดในโลกเป็นอันดับที่ 3 มีศาสนิกชนซึ่งเรียกว่า ชาวฮินดู อยู่ราว 1.15 พันล้านคน หรือ 15-16% ของประชากรโลก
ศาสนาฮินดูมีผู้นับถือมากที่สุดในอินเดีย, เนปาล และ มอริเชียส
ชุมชนฮินดูขนาดใหญ่ยังพบได้ในแคริบเบียน, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อเมริกาเหนือ, ยุโรป, แอฟริกา และประเทศอื่น ๆ
นอกจากนี้ยังเป็นศาสนาหลักในจังหวัดบาหลี อินโดนีเซีย
นักวิชาการมักมองศาสนาฮินดูว่าเป็นการผสมผสานของนักวิชาการมักมองศาสนาฮินดูว่าเป็นการผสมผสานของที่มีรากฐานหลากหลายและไม่มีศาสดาหรือผู้ริเริ่มตั้งศาสนา
ฮินดู" (Hindu synthesis) นี้เริ่มมีขึ้นระหว่างราว 500 ปีก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศักราช 300ภายหลังการสิ้นสุดลงของยุคพระเวท (1500 ถึง 500 ก่อนคริสตกาล),และเจริญรุ่งเรืองในอินเดียสมัยกลางไปพร้อมกับการเสื่อมของศาสนาพุทธในอนุทวีปอินเดีย
คัมภีร์
คัมภีร์พระเวท เดิมมี 3 คัมภีร์ เรียกว่า
"ไตรเวท"
ยชุรเวท
เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์ที่ว่าด้วยสูตรสำหรับใช้ในการประกอบยัญพิธียชุเวทสัมหิตา
แบ่งออกเป็น 2 แขนง
ศุกลชุรเวท หรือ ยชุรเวทขาว
ได้แก่ ยชุรเวทที่บรรจุมนต์ หรือคำสวดและสูตรที่ต้องสวด
กฤษณยชุรเวท หรือ ยชุรเวทดำ
ได้แก่ ยชุรเวทที่บรรจุมนต์และคำแนะนำเกี่ยวกับการประกอบยัญพิธีบวงสรวง ตลอดทั้งคำอธิบายในการประกอบพิธีอีกด้วย
สามเวท
ป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์อันเป็นบทสวดขับร้อง บทสวดในสามเวทสัมหิตามีจำนวน 1,549 บท ในจำนวนนี้มีเพียง 75 บท ที่มิได้ปรากฏในฤคเวท
ต่อมาได้เพิ่ม อรรถเวท เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทประพันธ์ที่ว่าด้วยมนต์หรือคาถาต่าง ๆ
ฤคเวท
เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมบทสวดสดุดีพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย บรรดาเทพเจ้าที่ปรากฏในฤคเวทสัมหิตามีจำนวน 33 องค์ ทั้ง 33 องค์
ได้จัดแบ่งตามลักษณะของที่อยู่เป็น 3 กลุ่ม คือ
เทพเจ้าที่อยู่ในอากาศ
เทพเจ้าที่อยู่ในโลกมนุษย์
เทพเจ้าที่อยู่ในสวรรค์