Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
7 ถิ่นที่อยู่ การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน
8 ภาวะเจ็บป่วย
6 อาชีพ
9 สิ่งแวดล้อม
5 เศรษฐกิจ
10 ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
4 การศึกษา
11 ความชอบ
3 ภาวะสุขภาพ
2 เพศ
1 อายุ
1 ความหมายและความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ความหมาย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล หมายถึง การดูแลความสะอาดและสุขภาพของ
ผิวหนัง ผม เล็บ ปาก ฟัน ตา หู จมูก และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของตนเอง
สุขอนามัย (Hygiene) หมายถึง หลักการและความรู้ของการ
คงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene) หมายถึง เรื่องราวที่ว่าด้วยการดูแล ปรับปรุง ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็นโรคและมีการปฏิบัติตนให้อยู่ในสภาวะที่ปลอดภัย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การอาบน้ำ (Bathing) เป็นกิจวัตรประจำวันของมนุษย์ เพื่อชำระสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย โดยใช้น้ำเป็นตัวช่วยกิจกรรมที่ทำร่วมกับการอาบน้ำ
ผลของการอาบน้ำ
สดชื่น
รู้สึกสุขสบาย
ร่างกายสะอาด
ประกอบด้วย
การแปรงฟัน
การสระผม
การล้างหน้า
4 การดูแลความสะอาดส่วนต่างๆร่างกาย
4.5 การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
4.6 การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
4.4 การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์เพื่อ
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
4.7 การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
4.3 การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์เพื่อ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
4.8 การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
เพศชาย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิ ดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
เพศหญิง
•จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่าขึ้น (dorsal recumbent position) เหน็บผ้าห่มคลุมขา (drape) ให้เรียบร้อย
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขสบายให้กับผู้ป่วย
4.2 การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์
ก าจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
4.9 กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สามารถดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวันได้เนื่องจากมีภาวะความจำเสื่อมและไม่สนใจตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน: เป็นผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
ผู้ป่วยมีความพึงพอใจจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
การวางแผน
วางแผนให้การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจ าวัน: อาบน้ำและสระผมบนเตียง
จัดเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำ และสระผมบนเตียงให้ครบแล้วนำไปที่ เตียงผู้ป่วย
จัดเตรียมเสื้อผ้าชุดใหม่ ผ้าปู และปลอกหมอน อย่างละ 1 ชุด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบน
เตียงเป็นการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวัน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S : ญาติผู้ป่วยบอกว่า “ผู้ป่วยทานอาหารได้น้อยมา 2 สัปดาห์ เมื่อ 2วันก่อนไม่ยอมรับประทานอาหาร”
O : หญิงไทยสูงอายุ คู่ ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์มีความจำเสื่อมจำบุคคลรอบข้างไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบข้าง อ่อนเพลีย ซีด รูปร่างผอม แขนซ้าย On 5%D/N/2 1000 ml v drip in 30 drop/min เหลือ 500ml
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ให้บริการอาบน้ำบนเตียงให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการปฏิบัติอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนให้ใหม่
ให้บริการสระผมให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการสระผมผู้ป่วยบนเตียง
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกการพยาบาล
บอกผู้ป่วยให้ทราบ
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
1) ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
2) ประเมินความสะอาดเส้นผม
3) ประเมินความสะอาดผิวหนังของร่างกาย
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
2) ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
1) ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการให้บริการ 1 และ2 ทุกข้อ อยู่ในระดับใด
(โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง)
4.1 การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่างๆ
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
หลักการนวดหลัง
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ภาวะมีไข้
โรคผิวหนัง โรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
วัตถุประสงค
การอาบน้ำผู้ป่วยเฉพาะบางส่วน(Partial bath)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Shower)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
นวดบริเวณหลังเรียงลำดับตามขั้นตอนดังนี้
•Kneading เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
•Beating เป็นการก ามือหลวมๆ ทุบเบาๆ บริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น(Gluteal muscle) ใช้ก ามือหลวมๆทั้งสองข้างทุบเบาๆ และเร็วๆ สลับขึ้นลงบริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น ท าอย่างน้อย 12 ครั้ง
•Friction เป็นการใช้ฝ่ามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อไหล่ (trapezins) กล้ามเนื้อสีข้าง (latissimus dorsi) ทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน วางฝ่ามือทั้งสองข้างลงบนกล้ามเนื้อแล้วถูขึ้นลงสลับกันตามกล้ามเนื้อ ท าอย่างน้อย 12 ครั้ง
•Hackingเป็นการใช้สันมือสับเบาๆ ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับสลับกันเร็วๆโดยการกระดกข้อมือสับขวางตามใยกล้ามเนื้อบริเวณตะโพก ก้นและต้นขาทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
•Stroking เป็นการลูบตามแนวยาวใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างวางที่บริเวณก้นกบ ค่อยๆ ลูบขึ้นตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอ ให้น้ำหนักกดลงที่ปลายนิ้วแล้วอ้อมมาที่ไหล่ สีข้าง และตะโพกทำช้าๆ เป็นจังหวะประมาณ 3-5 ครั้ง
•Clapping เป็นการใช้อุ้งมือตบเบาๆ โดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันทั้งสองข้าง ให้เกิดช่องว่างตรงกลางฝ่ามือตบเบาๆ สลับมือกัน โดยกระดกข้อมือขึ้นลงทั่วบริเวณหลัง ทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
การลูบตัวลดไข้ (Tepid sponge)
จุดประสงค์
ช่วยกระตุ้นให้การไหลเวียนของโลหิตและอวัยวะทำงานดีขึ้น
ช่วยให้ประสาทคลายความตึงเครียด ผ่อนคลาย และลดอาการกระสับกระส่าย
ลดอุณหภูมิในร่างกาย ช่วยป้องกันอาการชักเนื่องจากไข้สูงได้
การพยาบาลในช่วงเวลาต่าง ๆ
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M care)
การพยาบาลตอนเช้าตรู่ (Early morning care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ HS care)
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As-needed/ prn care)
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
4 ประเมินคุณภาพการนอนหลับ และการนอนหลับที่ผิดปกติ
2 Hypersomnia เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
3 Parasomnia เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับเป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้น
3.2 ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น/ จากตื่นมาหลับ อาการ ขากระตุกขณ กำลังหลับ(Hypnic jerks)ละเมอพูด (Sleeptalking) ศีรษะโขกก าแพง (Head banging)
3.3 กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ภาวะฝันร้าย (Nightmares) ภาวะผีอ า (Sleep paralysis)
3.1 ความผิดปกติของการตื่น (Around disorder) อาการสับสน ละเมอเดิน ฝันร้าย
3.4 กลุ่มอื่น ๆ การนอนกัดฟัน การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ การกรน การไหลตาย
1 Insomnia เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
2) การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
3) การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
1) การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia) เป็น
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ผลในภาพรวมจะท าให้การท างานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจาก ร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
5 การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม และมีความปลอดภัย
การจัดท่าทางส าหรับผู้ป่วยเพื่อความสุขสบาย
3.การส่งเสริมให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่ดี
3 ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
1.2 ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
1.3 ความวิตกกังวล
1.1 ปัจจัยภายในส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ปัจจัยภายนอก
อุณหภูมิ
แสง
เสียง
ความไม่คุ้นสถานที่
กิจกรรมพยาบาล
อาหาร
ยา
การจัดท่าสำหรับผู้ป่วย
ท่านอนราบศีรษะสูง (Fowler’s position)
ท่านอนคว่ำ (Prone position)
ท่านอนหงายราบ (Dorsal position หรือ Supine position)
ท่านอนตะแคง (Lateral position)
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายสำหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
2 วงจรของการนอนหลับ
1) ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 การนอนยังเป็นแบบไม่ลึกหรือเป็นระยะที่เริ่มหลับ และการกลอกลูกตาช้าๆ จะหายไป คลื่นไฟฟ้าสมองจะช้าลงในผู้ใหญ่ร้อยละ 50 ของคนปกติ อาจใช้เวลาในระยะนี้ประมาณ 20 นาที หรือมากกว่า
ระยะที่3 เป็นการหลับลึกปานกลาง
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่4 เป็นการหลับลึกที่สุด
2) ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM) เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อ
• เกิดขึ้นหลังจากการเริ่มนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว ลักษณะประมาณ 90 นาที หรืออาจมากกว่าในวัยผู้ใหญ่ จะมีการเข้าสู่ระยะที่มีการเคลื่อนไหวลูกตาอย่างรวดเร็ว ลักษณะคลื่นไฟฟ้าสมองคล้ายตอนตื่นนอน
• มีการกลอกลูกตามอย่างรวดเร็ว
• อัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่าเวลาตื่นนอน และการหายใจไม่สม่ าเสมอ
• กล้ามเนื้อต่าง ๆ รวมทั้งใบหน้า และคอจะหย่อน เพราะร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
• การนอนหลับระยะนี้จะมีช่วงเวลายาวนาน การฝันจะพบประมาณ 80%ในช่วงระยะนี้
สรีรวิทยาของการนอนหลับ
ในขณะที่นอนหลับสรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง คือ
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ าเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง ตากลอกขึ้นหรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
ปริมาณปัสสาวะลดลง
การทำเตียงชนิดต่างๆ
2) การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
3) การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
1) การทำเตียงว่าง (Close bed)
4) การท าเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
หลักปฏิบัติการทำเตียง
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ปุวย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ปุวยควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะท า ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่ำเสมอ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
1 ความหมายและความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
2 สังคม
3 จิตใจอารมณ์
1 ร่างกาย
5 สติปัญญาและการรับรู้
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน
• การผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจ และร่างกาย
• ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
Bed rest
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่นๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายในทางผ่อนคลาย
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจ า
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
สรีรวิทยาของการนอนหลับและวงจรของการนอนหลับ
มีแขนงของเซลล์ประสาทReticular formation อยู่ในสมองส่วนกลาง
กระตุ้นให้สมองท าหน้าที่ตอบสนองสิ่งเร้ารวมถึงการหลับ การตื่น และวงจรการหลับ-ตื่น
การท างานของสมองส่วน Medulla, Pons และสมองส่วนกลาง(Midbrain) รวมถึงก้านสมอง (Brainstem)
7 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
1.2 วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนหลับ
1.3 สิ่งที่ช่วยให้นอนหลับ
1.1 วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนกลางวัน
1.4 ปัญหาในการนอนหลับและการแก้ไข
1.5 สาเหตุที่ท าให้นอนไม่หลับ และการแก้ไข
1.6 กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ช่วยลดความเครียด
1.7 สังเกตอาการแสดงของผู้ป่วยว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่เพียงพอ
1.8 สัมภาษณ์อาการที่แสดงว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่เพียงพอ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วางแผนให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของ
ร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยนอนหลับได้มากขึ้น
ผู้ป่วยไม่มีอาการอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย และสับสน
การพยาบาล (Nursing/Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ต้องมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกว่า “นอนหลับสบายดีนอนหลับเต็มอิ่ม”
สังเกตว่าผู้ป่วยนอนหลับได้มากขึ้น
สังเกตว่าไม่มีอาการอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย และสับสน