Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5.1 การพยาบาลมารดาทารกที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่5.1
การพยาบาลมารดาทารกที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคหัวใจ
อาการและอาการแสดง
หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้
Cyanosis
เจ็บหน้าอก
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
เส้นเลือดดำที่คอโป่ง
จำแนกความรุนแรง
Class 1 ทำกิจกรรมได้ปกติ
Class 2 ทำกิจกรมปกติแล้วมีอาการ
Class 3 ทำกิจกรรมเบาๆแล้วมีอาการ
Class 4 มีอาการเมื่ออยู่เฉยๆ
การดูแลรักษา
ก่อนตั้งครรภ์
แนะนำ Class 1,2 ตั้งครรภ์ได้
Class 3,4 ไม่แนะนำให้ตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
พักผ่อนให้เพียงพอ
ลดอาหารเค็ม ลดการออกกำลังกายทีรุนแรง
ป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวและการติดเชื้อ
ระยะคลอด
ให้นอนตะแคง ศีรษะสูง
วัดสัญญานชีพ ป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลว
ให้ออกซิเจน canular
ระยะหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ป้องกันการตกเลือด
พักผ่อนให้เพียงพอหลังคลอด 24 ชม.
โรคเบาหวาน
ชนิดของ DM
Type 1 : ขาดอินซูลิน
Type 2 : ดื้อต่ออินซูลิน
GDM : เกิดระหว่างตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
กระหายน้ำ
ปัสสาวะมาก
หิวบ่อย
น้ำหนักลด
วิธีการตรวจ (Two-step)
ตรวจคัดกรอง GDM : GCT
GA 24-28 Wks, มา ANC ครั้งแรก
ไม่ต้อง NPO, กิน Glucose 50 gm.
เจาะเลือดตรวจ Blood sugar หลัง 1 ชม.
ถ้า >=140 mg% ส่งตรวจ OGTT
ตรวจ OGTT
เจาะเลือดตรวจ FBS
NPO 8-14 ชม.
กิน Glucose 100 gm.
ตรวจ Blood sugar หลัง 1,2 และ3 ชม.
การดูแลรักษา
ระยะตั้งครรภ์
ควบคุมระดับกลูโคส HbA1c <6.5 หรือ 7%
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ให้กิน Folic acid วันละ 1 mg. อย่างน้อย 3 เดือนก่อนตั้งครรภ์
ระยะคลอด
G1 : ตรวจ FBS หลังคลอดอีกครั้ง
G2 : คลอดเมื่อ 38-39 Wks
Overt DM : หลังคลอดต้อง F/U BS เป็นระยะ
ระยะหลังคลอด
GDM A1,A2 : นัดตรวจ OGTT หลังคลอด 6 Wks
Overt DM : ให้ F/U ที่แผนกอายุรกรม
โรคเลือด
Anemia
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
เวียนศีรษะ
ลิ้นเลี่ยน เล็บบาง
การรักษา
ให้กินธาตุเหล็ก 200 mg./day เช่น Ferrous sulfate
สาเหตุ
กินเจ
มีการเสียเลือดเรื้อรัง
ร่างกายต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
Thalassemia
การรักษา
ให้ Folic acid เสริม 1 เม็ด(5mg)วันละครั้ง
ดูแลให้ระดับ Hb 7-10 %
ยุติการตั้งครรภ์ กรณี Hydrops fetails
อาการและอาการแสดง
อาการไม่รุนแรง
ไม่มีอาการแสดงของโรรค
อาการรุนแรงมาก
ถ้าซีดมากอาจทำให้เกิดหัวใจล้มเหลว หายใจเหนื่อยหอบ บวมและเสียชีวิต
อาการอาการรุนแรงปานกลาง
ซีด ตัวเหลือง ตับม้ามโต
การพยาบาลมารดาที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
การติดเชื้อในหญิงหลังคลอด
ถ่ายปัสสาวะไม่หมด
PV บ่อย
ปวดแผลฝีเย็บ
อาการและอาการแสดง
Asymptometric bacteriuria
ไม่มีอาการ
Cystitis
ถ่ายปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่ได้
ปัสสาวะแสบขัดตอนถ่ายปัสสาวะสุด
ปวดหลังหรือปวดหัวเหน่า
Pyelonephritis
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ปัสสาวะขุ่น อาจมีเลือดหรือหนองปน
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น
การพยาบาล
พักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมิน V/S
นอนตะแคง
แนะนำให้ดื่มน้ำมากๆและไม่กลั้นปัสสาวะ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลมารดาที่มีต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
Hyperthyroidism
สาเหตุ
โรคพลัมเมอร์
เนื้องอกเป็นพิษ
โรคเกรฟ พบบ่อยที่สุด
อาการและอาการแสดง
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น
หัวใจเต้นเร็วเกิน 100 ครั้ง/นาที
หิวบ่อย กินจุ
ตาโปน มือสั่น
การพยาบาลระยะคลอดและหลังคลอด
จัดให้นอนศีระษะสูง
บรรเทาความเจ็บปวด
ประเมิน v/s สภาพทารกในครรภ์
การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีเอสโตรเจน
Hypothyroidism
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย น้ำหนักเพิ่ม
ทนความเย็นไม่ได้
เกิดตะคริวบ่อย
การพยาบาล
พักผ่อนประมาณวันละ 10 ชม.
การมาฝากครรภ์ตามนัด
รับประทานอาหารให้เพียงพอ
โรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบาก มีเสียงวี๊ด
ไอมีเสมหะเหนียวข้น
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
การพยาบาล
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่าให้หายใจสะดวก
สอนการหายใจ
โรควัณโรคปอด
สาเหตุ
Mycobacterium
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
ไอเป็นเลือด
การพยาบาล
ให้รับประทานยาอย่างเคร่งครัด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคสู่ผู้อื่น