Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ใช้ระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
ยาที่ใช้ระบบประสาทอัติโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัติโนมัติ
เป็นการควบคุมอวัยภายใน โดยการทำง่านร่วมกันของ ANS
ระบบประสาทซิมพาเทติก ทำหน้าที่เพื่อนสามารถ ต่อสู้หรือถอยหนี
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก เปรียมเสมือนการชะลอหรือห้ามระบบ เพื่อให้พักผ่อนหรือย่อยอาหาร
สารสือประสาทและตัวรีบในระบบประสาทอัติโนมัติ
สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติก เรียกว่า Adrenegic agents
Noradrenaline และจับกับตัวรับฌฉพาะที่เรียกว่า Adrenergic receptor
Alpha
Beta
สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมเทติก เรียกว่ว Choline ragents
Aceptycholine และจับกับตัวรับเฉพาะที่เรียกว่า Cholinergic receptor
Muscarinic
Nicotinic receptor
สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก จะมีเส้นประสาทที่ไปยังกล้ามเนื้อบายซึ่งหลั่ง Ach ออกฤทธิ์ที่ Nicotinc receptors กล้ามเนื้อลาย
การแบ่งประเภทของ Ddrenergic receptors
Alpha1 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดทางเดินปัสสาวะและมดลูกทำให้เกิดตอบสนองแบบหดตัวยกเว้นระบบทางเดินอาหารทำให้การยับยั้งการเคลื่อนไหว
Alpha2 พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติกที่เนื้อเยื่อต่าง ๆ และในสมองการกระตุ้นจะยับยั้งการหลั่งของ norepinephrine (NE)
Beta1 พบที่หัวใจเมื่อถูกกระตุ้นจะเพิ่มแรงบีบตัวอัตราการเต้นของหัวใจ
Beta2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหลอดลมทางเดินปัสสาวะและมดลูกเมื่อถูกกระตุ้นจะเกิดการคลายตัวและกล้ามเนื้อลายก่อให้เกิดการสลายไกลโคเจน
Beta3 พบที่เซลล์ไขมันเมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการสลายไขมัน
การแบ่งประเภทของ Cholinergic receptor แบ่งเป็น 2 ชนิด
Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
Muscanrinic receptor แบ่งเป็น
M1 พบที่สมอง Peripheral neuron และ Gastric parietal เมื่อมีการกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ Excitation
M2 พบที่หัวใจและบางส่วนของ Peripheral neuron การกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบยับยั้ง
M3 พบได้ตามต่อมมีท่อต่าง ๆ กล้ามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารทางเดินหายใจการกระตุ้นทำให้เกิดการตอบสนองแบบ Excitation
M4 พบที่ระบบประสาทการกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่งของ Dopamine
M5 พบที่ Dopamine neuron การกระตุ้นทำให้เสริมการหลั่งของ Dopamine
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
ยาโคลิเนอร์จิก
เป็นยากลุ่มยาที่ออกฤทธิ์คล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
กลไกการออกฤทธิ์ยา
ออกฤทธิ์กระตุ้น Cholinergic receptor โดยตรง
ทางอ้อมโดยยับยั้งการทำงานเอมไซม์ AChE / ChE
ซึ่งเป็นเอมไซม์ทำลาย Ach
Cholinegic agonist สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์โดยตรง
Ach และสังเคราะห์ Chline ester
Ach จัดเป็นยาต้นแบบของยากลุ่มนี้ แต่ไม่สามารถนำมาใช้ในการรักษาเนื่องจากฤทธิ์กระจายมากและออกฤทธิ์สั้นเนื่องจากยาถูกทำลายอย่างรวดเร็วด้วย AChE จึงเกิดการสังเคราะห์ Choline ester อื่น ๆ มาใช้เช่น Carbachol และ Bethanechol
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์กระตุ้นที่ Muscarinic และ Nicotinic receptor
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลของยาต่อเนื้อเยื่อระบบต่าง ๆ จะคล้ายกับการกระตุ้นระบบประสาทพาราซิมพาเทติกฤทธิ์ต่อระบบร่างกายที่สำคัญ
ระบบไหลเวียนเลือดสาร Muscarinic agonist มีผลโดยตรงทำให้ลดความต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ของหัวใจ
ระบบหายใจทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัวต่อมในหลอดลมหลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้นถ้าการกระตุ้นมีมากจะเกิดอาการคล้ายหืด
ระบบทางเดินปัสสาวะทำให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัว (detrusor muscle) เพิ่มความดันกระเพาะปัสสาวะเพิ่มการบีบตัวของท่อปัสสาวะและการคลายตัวของกล้ามเนื้อหูรูด (sphincter) และ trigone ของกระเพาะปัสสาวะ
ระบบทางเดินอาหารเพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่งคือน้ำลายและกรดในกระเพาะอาหารต่อมในตับอ่อนและลำไส้เล็กนอกจากนี้ยังกระตุ้นกล้ามเนื้อทางเดินอาหารบีบตัว (peristalsis) และกล้ามเนื้อ sphincter ต่าง ๆ คลายตัวให้อาหารเคลื่อนผ่านไปได้
ฤทธิ์ต่อตาทำให้ม่านตาหรี่ (miosis) เป็นผลจากการหดตัวของกล้ามเนื้อ sphincter muscle ของ iris ลดความดันในเบ้าตา
ระบบประสาทส่วนกลางสารมีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน Cortex มีบทบาทเกี่ยวกับการรับรู้ (Cognitive function) การเคลื่อนไหว (motor Control) ความอยากอาหาร (appetite) ความปวด (nociception) และอื่น ๆ
กานำไปใช้ในคลินิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechot ใช้รักษาอาการปัสสาวะไม่ออกจากหัตถการผ่าตัดจากการคลอดบุตรหรือโรคเกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะไม่ทำงานเนื่องจากยากระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะให้มีการบีบตัวเพื่อขับปัสสาวะออกมาได้
ใช้รักษาต้อหิน (glaucoma) ยา Pilocarpine ชนิดหยอดใช้ในการรักษาต้อหินเฉียบพลันโดยยามีฤทธิ์กระตุ้นให้ม่านตาหรี่ลดความดันในลูกตาและใช้เป็นยาหยอดตาลดความดันในลูกตาในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดตาหรือตรวจตา
ใช้รักษาอาการท้องอืดไม่ถ่ายเช่นโรคกรดไหลย้อน (gastroesophageal reflux)? Bethanechol จะกระตุ้นการบีบตัวเพิ่มแรงบีบการขับเคลื่อนอาหารในทางเดินอาหารในปัจจุบันมียาที่มีประสิทธิภาพดีกว่ากลุ่มนี้
อาการข้างเขียงและความเป็นพิษ
ผลของยาเกิดจากการกระตุ้น muscarinic receptor โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาที่มีผลทั่วร่างกาย
อาการมึนเวียนศีรษะ (dizziness) คล้ายเป็นลมอาเจียนทำให้มีน้ำลายน้ำมูกน้ำตาไหลเหงื่อออกปวดปัสสาวะปวดมวนท้องสำหรับ
Pilocarpine แบบหยอดจะมีอาการตามัวระคายเคืองคันตาตาแดงน้ำตาไหล
ข้อห้าใใช้
asthma/COPD จะทำให้หลอดลมหดตัว
Peptic ulcer ยาจะกระตุ้นการหลังกรด และน้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน นิ่วทางเดินปสสาวะ เนื่องจากการกระตุ้นการบีบตัวจะก่ออันตรายได้
Anticholinesterase agent สารโคลิเนอร์จิกออกฤทธิ์ทางอ้อม
กลไกการออกฤทธิ์s
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ AChE หรือ ChE ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทำลาย Ach ผลทำให้ Ach ไม่ถูกทำลายAch จึงไปกระตุ้น cholinergic receptors
มีฤทธิ์สั้นใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้ส่วนสารที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวรเรียกกลุ่ม“ irreversible”
organophosphate Compounds ซึ่งใช้เป็นยาฆ่าแมลง
การจับกับเอนไซม์ถ้าเป็นชั่วคราวจัดอยู่ในกลุ่ม“ reversible”
edrophonium
neostigmine
pyridostigmine
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อ muscarinic receptor คล้ายกับ Cholinergic agonist
ผลต่อ nicotinic receptor ผลต่อกล้ามเนื้อลายการบีบตัวของใยกล้ามอาการสั่นพริ้ว
การนำไปใชในคลินิก
ใช้ในการรักษาอาการลำไส้กระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
ยา Neostigmine
ใช้ในการรักษาโรค Myasthenia gravis
ร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันมาทำปฏิกิริยากับ nicotinic receptor
ผู้ป่วยจะมีอาการแขนขาอ่อนแรงหนังตาตกพูดไม่ชัด
ใช้ในการยุติฤทธิ์ของยาคลายกล้ามเนื้อกลุ่มที่เป็น competitive antagonist
เพื่อให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ปกติเร็วขึ้นหลังการผ่าตัดยาที่ใช้
2 more items...
รักษา Alzheimer's disease
ยาช่วยปรับปรุงด้านความจำความเข้าใจ
อาการข้างเคียง และความเป็นพิษ
organophosphate หรือยาฆ่าแมลงเป็นยาที่จับกับเอนไซม์อย่างถาวร
รูม่านตาเล็ก
หายใจลำบาก
หัวใจเต้นช้า
ความดันโลหิตต่ำ
หน้ามืด
เหงื่อออกมาก
น้ำลายมาก
สารคัดหลั่งในทางเดินหายใจมาก
หลอดลมหดเกร็งปวดท้อง
สาร organophosphate เข้าสมอง
การรักษาโดยให้ยาต้านพิษ ได้แก่ Atropine และ pralidoxime
เพื่อยับยัง Muscarinic efect
ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic Drugs)
เป็นกลุ่มยาที่ปิดกั้นหรือยับยั้งฤทธิ์ของ cholinergic drugs ที่ cholinergic receptors
มีผลต่อ nicotinic เล็กน้อยจึงออกฤทธิ์ปิดกั้นที่ Muscarinic receptors
Atropine
กลไกการออกฤทธิ์
Atropine
เป็น muscarinic antagonists ออกฤทธิ์แย่งที่กับ Ach
ในการจับ Muscarinic receptors
แบบแข่งขัน (Competitive inhibition) ทำให้ยามีผลลด parasympathetic tone ในร่างกาย
ส่วนของร่างกายที่ตอบสนองต่อฤทธิ์ยาไว
ต่อมมีท่อต่างๆ
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบตา
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบ iris sphincter และ ciliary muscle ไม่สามารถหดตัวได้
ทำให้ม่านตาขยาย (mydriasis)
ไม่สามารถควบคุมเลนส์ให้มองภาพได้ชัด
ทำให้ความดันในลูกตาสูงซึ่งเป็นอันตรายต่อต้อหิน
มีผลทำให้ตาแห้งเนื่องจากยาไปยับยั้งการหลั่งน้ำตา
ระบบทางเดินอาหาร
การปิดกั้น muscarinic receptors ทำให้ parasympathetic tone ที่ระบบทางเดินอาหารลดลง
ระบบทางเดินหายใจ
มีฤทธิ์ขยายหลอดลม
ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง secretion) ที่จมูกปากคอและหลอดลมได้
สามารถลดหดเกร็งของหลอดลม (bronchoconstriction) จากสารต่าง ๆ ในร่างกาย
histamine
bradykinin
กล้ามเนื้อเรียบอื่น ๆ
ลดความตึงตัวและความแรงในการบีบตัวของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะลำบากโดยเฉพาะผู้สูงอายุรวมถึงกล้ามเนื้อเรียบของมดลูก
ต่อมเหงื่อ
atropine
ทำให้ร่างกายขับเหงื่อได้น้อยลงส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถระบายความร้อนออกทางเหงื่อได้
อุณหภูมิของร่างกายจึงสูงเกิดใข้เรียกว่า Atropine fever
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ผลทำให้หัวใจเต้นเร็วเนื่องจากการลด parasympathetic tone ที่หัวใจ
atropine ยังมีฤทธิ์โดยตรงทำให้หลอดเลือดขยายตัวโดยเฉพาะหลอดเลือดใต้ผิวหนังทำให้บริเวณผิวหนังร้อนหรือแดงรู้สึกวูบวาบตามตัวเรียกว่า Atropine flush
การนำไปใช้ทางคลินิก
Antisecretory
รักษาโรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
อาศัยฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรดและน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ใช้เป็น Antispasmodics
ยาลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบในช่องท้องกระเพาะอาหารและลำไส้หรือมดลูก
ใช้รักษาโรคอาการท้องเดิน
โรคลำไส้แปรปรวน
ใช้รักษาภาวะกระเพาะปัสสาวะบีบตัวไวมากเกินไป
มีสาเหตุจากจากกระเพาะปัสสาวะอักเสบหรือหลังการผ่าตัดต่อมลูกหมากทำให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบของท่อปัสสาวะ
ใช้ทางจักษุแพทย์
ทำให้รูม่านตาขยาย
ช้เป็นยาหยอดขยายม่านตาก่อนการตรวจตา
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคต้อหิน
ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
ใช้เป็นยาเตรียมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ใช้เป็นยารักษาโรคพาร์กินสันรักษากลุ่มอาการที่เรียกว่า extrapyramidal syndrome
รักษาภาวะล้มเหลวของระบบไหลเวียนโลหิต
ใช้เป็นยาป้องกันและรักษาอาการเมารถเมาคลื่น
ใช้เป็นยาต้านพิษ (Antidote) ที่เกิดจาก organophosphate ยาที่ใช้ ได้แก่ Atropine อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
อาการข้างเคียง
ปากแห้ง
คอแห้ง
ตาพร่ามัว
ใจสั่น
ร้อนวูบวาบทางผิวหนัง
ท้องผูก
ปัสสาวะลำบาก
ควรสังเกตและบันทึกละบันทึกปริมาณน้ำดื่มและจำนวนปัสสวะ เพราะยาอาจทำให้ปัสสาวะคั่งได้
ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเธติก
ยากลุ่ม sysmpathomimtices
Alpha-adrenergic agonist
Beta-adrenergic agonist
กลุ่ม catecholamines
Epinephrine
กลไกการออกฤทธิ์
gป็นสาร agonist ออกฤทธิ์กระตุ้นได้ทั้ง alpha , beta receptor ถูกทำลายอย่างรวดเร็วโดย MAO, COMT ดังนั้นให้การรับประทานไม่ได้
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนโลหิตมีฤทธิ์แรงที่ในการบีบหลอดเลือดและกระตุ้นหัวใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบหายใจทำให้กล้ามเนื้อทางเดินหายใจคลายตัวหลอดลมขยายตัว
ผลต่อเมตาบอลิซึมภายในร่างกายทำให้กลูโคสและ lactose ในเลือดสูง
ยาเข้าสู่สมองได้น้อยจึงไม่มีฤทธิ์กระตุ้นสมอง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ภาวะหัวใจหยูดเต้น ควรใช้เป็นอันดับแรก
ภสงะแอนาฟิแล็กซิส
ใช้เพื่อห้ามเลือด
ใช้ผสมยาชาเฉพาะที่
Norepinephrine
ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับ epinephrine
รักษาความดันโลหิตต่ำรุนแรง ที่ไม่ตอบสอนงต่อยาอื่น เนื่องจากการทำงานประสาทซิมพาเธติกล้มเหลว
Dopamine
เป็นสารสังเคราะห์ มีโครงสร้างคล้าย DA
เป็นยาที่กระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
ระบบประสาท
วิตกกังวลปวดศีรษะอาการสั่นอาจเกิด cerebral hemorrhage
ระบบไหลเวียน
หัวใจเต้นผิดจังหวะปอดบวมน้ำเจ็บหน้าอก
Tissue necrosis
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Norepinephrine ถ้าฉีดเข้าหลอดเลือดดำรั่วไปเนื้อเยื่อรอบ ๆ จะเกิด vasoconstriction อย่างมากจนเนื้อตายได้
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
indirect-andmixed-type adrenergic agonist
Ephedrine and peudoephedrine
ไม่ได้ใช้ในคลินิคแล้ว
Amphetamine
เป็นยาเสพติดให้โทษชนิดหนึ่ง
ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิรีเซพเตอร์
Aipha-adrenergic antagonists
Prazosin
Beta-adrenergic antagonists
Non-selective
Propranolol
Selective
Atenolo
Metoprolol