Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (abruption placentae/Placenta abruption) - Coggle…
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
(abruption placentae/Placenta abruption)
ข้อมูลสตรีตั้งครรภ์รายนี้
สตรีตั้งครรภ์ G2P1-0-0-1
GA 34 wks last 2 ปี
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
3วันก่อนมาโรงพยาบาล แต่ไม่ได้ไปพบแพทย์ที่ไหน
1 วันก่อนมาเริ่มมีอาการบวมที่เท้ากดบุ๋ม มาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว แต่ไม่มีจุกแน่นใต้ลิ้นปี่ ร่วมกับมีอาการปวดท้องมาก มีเลือดออกทางช่องคลอด
สาเหตุ
ครรภ์เป็นพิษ/ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :check:
ลดขนาดฉับพลันของมดลูกขนาดใหญ่
แรงกระแทกที่หน้าท้อง (trauma)
เคยมีประวัติระลอกตัวในครรภ์ก่อน
สายสะดือเด็กสั้น
ผลจากหัตถการของแพทย์ (latrogenic trauma)
สูบบุหรี่/ดื่มแอลกอฮอล์/ขาดสารอาหาร
อาการ
เลือดออกทางช่องคลอด
หลังการตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์ไปแล้ว :check:
ปวดท้องรุนแรง :check:
ซีด ตัวเย็น เหงื่อออก Pulse เร็ว ความดันโลหิตต่ำ
คลำส่วนของทารกไม่ได้
ฟัง FHS ไม่ได้ :check:
การวินิจฉัย
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
ซักประวัติ
ปริมาณ/ลักษณะของเลือดที่ออก
อาการเจ็บครรภ์
การตรวจครรภ์
มดลูกหดรัดตัวมาก (tetanic contraction) หรือแข็งเกร็ง (woody hard)
มีอาการเจ็บครรภ์มาก
กดเจ็บที่มดลูก (uterine tenderness)
คลำส่วนของทารกไม่ชัดเจนเนื่องจากหน้าท้องแข็งตึง
ฟัง FHS ไม่ได้ หรือFHS ผิดปกติ
ตรวจร่างกาย
เลือดออกทางช่องคลอด มักมีอาการปวดท้องร่วมด้วย (painful bleeding) หรืออาจไม่พบเลือดออกทางช่องคลอดในรายที่เป็นชนิด conceal
ซีด ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเบาเร็ว
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อที่ 1เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อคจากการเสียเลือด เนื่องจากสูญเสียเลือดทางช่องคลอด
ข้อที่ 2 ทารกในครรภ์มีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากมารดามีเลือดออกก่อนคลอด
ข้อที่ 3มารดาและครอบครัววิตกกังวลและกลัวอันตราย
ที่อาจเกิดขึ้นกับตนเองและทารกในครรภ์
ข้อที่ 4เจ็บปวดอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากกล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวและเนื่อเยื่อบอบช้ำจากภาวะ retroplacental bleeding
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์แลครอบครัวเข้าจภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น
ประเมินสัญญาณชีพ/อาการและอาการแสดงของภาวะช็อค/ Record I/O
เจาะเลือดหา Hb,Hct.blood group,platelet,PT,PTT
เตรียมเลือดทดแทน
นอนพักบนเตียง ทำกิจกรรมเท่าที่จำเป็น
NPO /ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
สังเกตเลือดที่ออกจากช่องคลอด
งด PV/PR/SSE
ประเมิน FHSทุก 1 ชม.
ประคับประคองจิตใจ
พยาธิสภาพ
การฉีกขาดของเส้นเลือดของรกทำให้เกิดเลือดออกในชั้น decidue basalis ทำให้รกแยกตัวออกจากผนังมดลูก
ตอนแรกจะเกิดเป็น decidua’s hematoma และมีการแตกของ decidua spiral artery เกิดเป็น retroplacental hematoma ทำให้รกลอกตัว ถูกกดเบียด ซึ่งลิ่มเลือดหรือก้อนเลือด
จะมาอุดที่วิลไล(villi) ทำให้รกไม่สามารถทำหน้าที่ได้
ปล่อย prostaglandinsออกมาทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดเกร็ง ส่งผลให้ขัดขวางการไหเวียนเลือดของรก ก่อให้เกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์