Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics) - Coggle Diagram
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา (Drug interaction)
3 ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกลไกในการขนส่งยา ยาบางชนิดอาจถูกขัดขวางกระบวนการในการขนส่งยา ทำให้ยาไม่สามารถไปยังอวัยวะหรือตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมาย ส่งผลให้ยาไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
2 ปฏิกิริยาต่อกันของยาแบบต้านฤทธิ์กัน ปฏิกิริยาแบบนี้เกิดเมื่อมีการให้ยา 2 ชนิดที่มีการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาแบบตรงกันข้ามรวมกัน
4.ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการรบกวนสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์
ปฏิกิริยาต่อกันของยาในลักษณะเพิ่มฤทธิ์ ฏิกิริยาในลักษณะนี้มักจะเกิดเมื่อเราใช้ยา 2 ชนิดที่มีฤทธิ์ในทางเภสัชวิทยาเหมือนกัน ในเวลาเดียวกัน อาจก่อให้เกิดการกดระบบประสาทส่วนกลางและระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น
การจำแนกประเภทของ ADR
ADR type B เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคน จะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น ผลที่เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาตามปกติของยา
ADR type A เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาสามารถทำนายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ไม่มีความจำเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับคือ โมเลกุลหรือโครงสร้างที่ทำหน้าที่ จับกับยาหรือฮอร์โมนแล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของเซลล์หรือเอนไซม์
พิษของยา (Toxic Effect)
รุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาที่ใช้ถ้ายังเพิ่มขนาดใช้ยา อาการพิษก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้น ๆ พิการหรือเสื่อมสภาพไป การใช้ยาในระยะเวลานานติดต่อกัน แม้จะใช้ในขนาดปกติ ก็เกิดเป็นพิษได้ เนื่องจากพิษของยาเอง
Receptor ตัวรับ
transport protein ex. Na+/K+ ATPase-digitalis
Specific ต่อสารสื่อหรือ ยาที่มีโครงสร้างเฉพาะ
enzyme ex. HMGCoA Reductase Statin drug
มี Affinity ต่อสารสื่อหรือต่อยาสูง
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างยากับตัวรับมัก เป็น weak bond
receptor for transmitter ex. Neurotransmitter, hormone, autacoid, chemokine PHYSIOLOGICAL RECEPTOR
Agonist ชุดหนึ่ง เมื่อกระตุ้นเนื้อเยื่อหลายชนิด มีลำดับความแรงของสารแต่ละตัวต่างกัน---> “Receptor subtype”
หมายถึง การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย กลไกที่ทำให้เกิดผลทั้งด้านที่พึงประสงค์คือฤทธิ์ในการรักษา และผลที่ไม่พึงประสงค์คืออาการข้างเคียงและพิษของยา
ความแตกต่างของ non-specifically acting drugs และ specifically acting drugs
Chemical specificity : การเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของยาในกลุ่ม specifically acting drugs ไปเพียงเล็กน้อยจะทำให้ผลทางเภสัชวิทยาเปลี่ยนไปมาก
การต้านฤทธิ์โดย antagonist
ความแรง (potency) ยาในกลุ่ม non-specifically acting drugs จะมีความแรงน้อยกว่า specifically acting drugs ที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาใกล้เคียงกัน
อาการไม่พึงประสงค์และพิษของยา
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาการตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและเกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจเมื่อใช้ในขนาดปกติในมนุษย์เพื่อการป้องกัน วินิจฉัย
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา ผลใดๆจากเภสัชภัณฑ์ที่ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้นเกิดในขนาดการใช้ยาปกติในมนุษย์ ซึ่งสัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
กลไกการออกฤทธิ์ กระบวนการออกฤทธิ์ของยาที่มีผลต่อร่างกาย ทําให้เกิดฤทธิ์ของยานั้นๆ ยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบันจะแบ่งตามตําแหน่งที่ไปออกฤทธิ์เป็น 2 ชนิด
2) ยาที่มีตําแหน่งออกฤทธิ์ที่เฉพาะเจาะจง
1) ยาที่มีตําแหน่งออกฤทธิ์ที่ไม่จําเพาะเจาะจง