Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
สุขอนามัย (Hygiene)
หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและ
การป้องกันโรค โดยการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
การดูแลตนเองการดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย การแต่งตัว สวมใส่เสื้อผ้า การออกกาลัง และการพักผ่อนนอนหลับ
ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลเอาใจใส่ทุกวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
การดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
พยาบาลจำป็นต้องรู้และเข้าใจถึงหลักการและเทคนิคปฏิบัติการพยาบาล เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทาให้ผู้ปุวยไม่สุขสบาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
ยุ ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่่แตกต่างกัน
เพศ
ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
ภาวะสุขภาพ
เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวย
ทางสุขภาพจิต ทาให้ขาดความสนใจ หรือละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา
ความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิว ผม ปาก ฟัน
และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
หากเศรษฐกิจไม่พอเพียง ผู้ปุวยอาจต้องทางานเพื่อ
หารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตนเอง
อาชีพ
บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้
ความสาคัญของการดูแลสุขอนามัย
ถิ่นที่อยู่
การใช้ชีวิตและมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกัน
ภาวะเจ็บปุวย
ส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
มีอาการซึมเศร้าไม่สนใจดูแลตนเอง
สิ่งแวดล้อม
อากาศร้อนทำให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับ
การดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ
ขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัว โรงเรียน และปลูกฝังจนเป็นอุปนิสัย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมี ดังนี้
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก
เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ปุวย
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า
เป็นการพยาบาลเพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การอาบน้าผู้ปุวยบนเตียง
บริการหม้อนอนในผู้ปุวยหญิง หรือกระบอกปัสสาวะในผู้ปุวยชาย
การทาความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง
การดูแลเล็บมือและเล็บเท้า เส้นผมและทรงผม
การเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน การจัดท่านอนให้ผู้ปุวยอยู่ในท่าที่สุขสบาย
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า หากทากิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น.
หากทำในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่าย
การดูแลทาความสะอาด ตลอดจนการรักษาพยาบาลอื่น ที่มีในเวรบ่าย
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแล
การให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ
การล้างมือ ล้างหน้าทาความสะอาดปากฟัน
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24 ชั่วโมง
พยาบาลจะให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของผู้ปุวยในเรื่องความสะอาดของร่างกาย ความสุขสบาย
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้า (Bathing) เป็นการขจัดของเสียที่ร่างกายขับออกมา
ซึ่งนอกจากจะทาให้ผิวหนังสะอาดแล้วยังช่วยกระตุ้นระบบการไหลเวียนเลือด ทาให้สดชื่น และรู้สึกผ่อนคลาย
ชนิดของการอาบน้้ำ
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
การช่วยเหลือพาผู้ปุวยไปทาความสะอาดร่างกายในห้องน้า
ผู้ปุวยสามารถลุกจากเตียงได้ พยาบาลช่วยพยุงเดินไปห้องน้ำ
พยาบาลต้องระวังผู้ปุวยพลัดตกหกล้มโดยอยู่ใกล้ ห้องน้า ไม่ควรใส่กลอนประตูห้องน้า ควรเรียกผู้ปุวยเป็นครั้งคราว
ประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ปุวยอยู่ในระดับ 0
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
ทำความสะอาดร่างกายผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้าเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ปุวยไม่สารถเช็ดเองได้
การประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ปุวยอยู่ในระดับ 1-2
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
เป็นการทาความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้าเช็ดตัวให้ผู้ปุวยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด หรือผู้ป่วยที่จากัดการเคลื่อนไหวบนเตียง
พยาบาลเป็นผู้อาบน้าให้
การประเมินความสามารถในการทากิจกรรมของผู้ปุวยอยู่ในระดับ 3-4
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกาลังกายของข้อต่างๆ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
เป็นศิลปะที่ใช้การสัมผัสด้วยมือที่นุ่มนวลมีจังหวะ มีความหนักเบาและยังเป็นการสื่อสารติดต่ออย่างหนึ่งในการพยาบาลผู้ปุวย
จุดประสงค์
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ป้องกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทางานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
นวดบริเวณหลังเรียงลำดับตามขั้นตอน ดังนี้
Stroking
เป็นการลูบตามแนวยาวใช้ฝุามือทั้งสองข้างวางที่บริเวณก้นกบ ค่อย ลูบขึ้นตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอ
Friction
เป็นการใช้ฝุามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อไหล่ (trapezins) กล้ามเนื้อสีข้าง (latissimus dorsi) ทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน
Kneading
เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
Beating
เป็นการกามือหลวม ทุบเบา บริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น (gluteal muscle)
Hacking
เป็นการใช้สันมือสับเบา ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับสลับกันเร็ว โดยการกระดกข้อมือสับขวางตามใยกล้ามเนื้อบริเวณตะโพก
Clapping
เป็นการใช้อุ้งมือตบเบา โดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันทั้งสองข้าง ให้เกิดช่องว่างตรงกลางฝุามือตบเบา สลับมือกัน
Stroking
ทำซ้าประมาณ 5-6 ครั้ง
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐานทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น ผู้ปุวยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา และเมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรง
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
การเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย ทำให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กาจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ปูองกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝูาในช่องปาก
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
ผู้ปุวยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร
และน้าทางปากได้ ต้องทาความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ปุวยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทาความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สาลีที่ใช้เช็ดทาความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อยๆ
การทำความสะอาดปากและฟัน ใช้การประเมินสภาพผู้ปุวยก่อน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปวยได้ แปรงฟันด้วยตนเอง
การดูแลความสะอาดของเล็บ
เล็บเป็นโครงสร้างจากโปรตีน ซึ่งจะงอกยาวตามเวลา
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้าอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
วิธีการปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ปุวย จัดวางให้เรียบร้อยเพื่อสะดวกในการใช้
คลี่ผ้าเช็ดตัวรองอ่างน้า แช่มือ หรือเท้าสักครู่ เพื่อให้เล็บและขี้เล็บอ่อนตัวช่วยให้ตัดเล็บและแคะสิ่งสกปรกที่เล็บออกได้ง่ายขึ้น
ใช้ผ้าเช็ดตัวถูสบู่พอกขัดตามซอกเล็บ ง่ามนิ้ว ถ้าเล็บสกปรกมากอาจใช้ปลายตะไบแคะสิ่งสกปรกออก
ยกอ่างน้าออก เช็ดมือหรือเท้าให้แห้ง
ปูกระดาษรอง ตัดเล็บให้ปลายเล็บตรงและข้างไม่โค้งไม่ตามซอกเล็บ
ใช้ตะไบถูเล็บให้ขอบเล็บเรียบ เพื่อปูองกันผิวหนังเกิดแผลถลอกจากการขีดข่วนของเล็บ
เปลี่ยนน้ำ ล้างมือหรือล้างเท้าอีกครั้งหนึ่ง เช็ดให้แห้ง
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย เก็บเศษเล็บทิ้งในถังขยะติดเชื้อ กรรไกรตัดเล็บและตะไบเล็บ ทาความสะอาดด้วยสาลีชุบ แอลกอฮอล์70%
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลความสะอาดของตา
เป็นการทำความสะอาดตา รวมทั้งการกระทำ
การทำความสะอาดตา
ผู้ปุวยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติ ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา ซึ่งจาเป็นต้องกำจัดออก ไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทาให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสาลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
แนะนาตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ
ยกของใช้ไปที่เตียงผู้ปุวย จัดวางให้สะดวกในการใช้
จัดให้ผู้ปุวยนอนนอนตะแคงด้านที่ต้องการทาความสะอาด เพื่อปูองกันมิให้น้ายาและสิ่งสกปรกจากตาข้างที่ต้องการทาความสะอาดไปปนเปื้อนตาอีกข้างหนึ่ง
ใส่ถุงมือสะอาด เพื่อปูองกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS พอหมาด เช็ดจากหัวตาไปหางตา ถ้าขี้ตาแห้งติดหนังตาหรือขนตา
พลิกตัวผู้ปุวยตะแคงด้านตรงข้าม และทาความสะอาดตาอีกข้างหนึ่งด้วย วิธีเดียวกัน
สังเกตลักษณะและจานวนของขี้ตา รวมทั้งสภาพของตาว่าบวม แดง หรือไม่ เพื่อประเมินสภาพของตา ถ้าพบสิ่งผิดปกติจะได้แก้ไขต่อไป
เก็บของใช้ทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย สาลีทิ้งลงถังขยะติดเชื้อ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลทำความสะอาดของหู
หูเป็นอวัยวะรับรู้สึกที่เกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทาความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
0.9% NSS หรือน้ำสะอาด
สาลีสะอาด หรือไม้พันสาลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ปุวยจัดวางให้สะดวกในการใช้
จัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อจัดท่าที่เหมาะสม
สวมถุงมือ และmask
ใช้สาลีชุบ 0.9% NSS หรือน้าสะอาด เช็ดทาความสะอาดในช่องหู ใบหู และหลังใบหู แล้วเช็ดด้วยผ้าสะอาดจนแห้ง
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ปุวยที่คาสายไว้
จุดประสงค์
กาจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ปูองกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
เครื่องใช้
ถาดใส่แก้วใส่น้าสะอาดหรือ 0.9% NSS
ไม้พันสำลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
ผ้าก๊อซ
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สำลีชุบเบนซิน และสำลีชุปน้าเกลือใช้ภายนอก
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
แนะนาตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ปุวยจัดวางให้สะดวกในการใช้
สวมถุงมือ และmask
จัดผู้ปุวยให้อยู่ในท่านอนหงาย ศีรษะสูง (ถ้าไม่มีข้อห้าม)เพื่อจัดท่าที่
เหมาะสม
ใช้สาลีชุบเบนซินเช็ดคราบพลาสเตอร์ออก และเช็ดส่วนที่เป็นยางเหนียวของพลาสเตอร์บนผิวหนังออกให้หมด เช็ดด้วยสาลีชุบน้าเกลือ และเช็ดตามด้วยสาลีชุบ
ใช้ไม้พันสาลีชุบน้า หรือ 0.9% NSS บีบพอหมาด เช็ดในรูจมูกเบาๆ
โดยรอบ ถ้ามีสายคาที่จมูกอยู่ ให้เช็ดรอบสายที่คาอยู่ในจมูก
ถ้ามีสายที่คาในรูจมูก ใช้ผ้าก๊อซเช็ดสายที่คาในจมูกส่วนที่อยู่นอกจมูก
รวมทั้งบริเวณจมูกให้สะอาดและแห้ง
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เป็นการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทาเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ปุวย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวยและรู้สึกมีความมั่นใจ
เครื่องใช้
ถาดใส่ยาสระผม หวี หรือแปรงผม ที่หนีบผ้า (ถ้าใช้ผ้ายางเป็นอุปกรณ์รองรับน้าจากศีรษะ) ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน สาลี 2 ก้อน ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก 1 ผืน แก้วน้า และน้ามันมะกอก (ถ้ามี)
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้าทิ้ง
ผ้ายางรองสระผม
เครื่องเป่าผม
ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบวัตถุประสงค์
วางของใช้บนรถเข็นสระผมเคลื่อนที่ นำไปที่เตียง จัดวางเครื่องใช้ให้สะดวกแก่การหยิบใช้
จัดผู้ป่วยนอนหงายทแยงมุมกับเตียง ให้ศีรษะอยู่ริมเตียง นำผ้าเช็ดตัวม้วนกลมรองไว้ใต้คอผู้ป่วย
รองผ้าเช็ดตัววางบนผ้าม้วนกลม แล้วรองผ้ายางบนผ้าเช็ดตัวผืนนั้น เพื่อช่วยซับน้าหากหกไหลเลยผ้ายางออกไป และใช้เช็ดผมเมื่อสระเสร็จแล้ว
เลื่อนรถสระผมฯ เทียบกับขอบเตียงวางศีรษะผู้ปุวยบนผ้าผืนที่ม้วนรองใต้คอจัดชายผ้ายางให้ลงในอ่างล้างผม ใช้ไม้หนีบผ้าหนีบผ้ายางให้ติดกัน
ใช้หวีหรือแปรงสางผมให้ทั่ว สำหรับผู้ปุวยที่ผมสกปรกมากและยุ่ง
เป็นสังกะตังให้ใช้น้ามันมะกอกชโลม
ใช้สาลีชุบน้าบีบให้หมาดใส่หูข้างละก้อน ปูองกันน้าเข้าหู และใช้ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็กชุบน้าบิดให้หมาด พับเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าปิดตาผู้ปุวย
ใช้แก้วน้ำตักน้ำราดผมพอเปียก เทแชมพูใส่มือถูกัน ชโลมแชมพูให้ทั่วศีรษะ ใช้มือทั้งสองข้างเกาหนังศีรษะบริเวณ frontal จนทั่วบริเวณหน้าผาก
ใช้แก้วน้าตักน้าราดผมให้ทั่ว โดยราดน้าที่ละครึ่งศีรษะ ใช้มือลูบฟอง
ยาสระผมจนหมด ทาการสระผมอีกครั้ง
รวบปลายผมบิดให้หมาด เอาสาลีออกจากหู และคลี่ผ้าปิดตาทาเป็น
สามเหลี่ยมโดยเอาสายผ้าแต่ละข้างเช็ดใบหู รูหูและหน้าหูและหลังหู จนสะอาดทั่ว
ปลดผ้ายางออกจากคอผู้ปุวย รวบลงอ่างสระผม ใช้ผ้าเช็ดตัวผืนที่รองใต้ผ้ายางสระผม เช็ดผมให้หมาดพันรวบผม และบอกให้ผู้ปุวยลงนั่งหรือย้ายศีรษะผู้ปุวยวางบนหมอน
ใช้เครื่องเป่าผม เป่าผมให้แห้ง หวีผมให้ได้ทรง ถ้าผมยาวควรรวบผมมัดให้เรียบร้อย
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย เศษผมและสำลีห้ามทิ้งลงอ่างล้างมือเด็ดขาด เพราะจะทำให้ท่อระบายน้ำตัน ให้ทิ้งลงถังขยะติดเชื้อเท่านั้น
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย (Perineal care of male)
เป็นการทาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ปกติจะชาระให้วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
เครื่องใช้
ผ้าปิดตา
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน (bed pan) พร้อมผ้าคลุมหม้อนอน (bed pad) ผ้ายางผืนเล็ก
ถาดใส่ของ ประกอบด้วย
น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอกหรือน้าสะอาด
น้ำสบู่ หรือสบู่เหลว
ชุดชำระ (P-care set) ประกอบด้วย ชามกลม (bowl) สำลีก้อนใหญ่
สำหรับชาระ 7 ก้อนและปากคีบ (forceps) 1 ตัว
ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
กระดาษชำระ 2-3 ชิ้น
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือกั้นม่านให้มิดชิด เพื่อความเป็นส่วนตัวและลดความเขินอาย
ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ปุวย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
ให้ผู้ปุวยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก และจัดหม้อนอนตรงพอดีกับก้น การสอดหม้อนอนให้ผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชาระไว้ด้านปลายเท้า
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง มาที่เตียงให้ครบถ้วน วางไว้ในที่เหมาะสม หยิบใช้สะดวก เปิด P-care set
ใช้ forceps ใน set หยิบสำลีออกจากชามกลมวางบนผ้าห่อ 4 ก้อน
วาง forceps บนผ้าห่อ
เทน้ำสบู่ หรือสบู่เหลว บนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้มือข้างซ้ายจับองคชาต (penis ) แล้วค่อย รูดหนังหุ้มปลาย (foreskin)หรือ (prepuce)
เท 0.9% NSS หรือน้าอุ่น บนสาลีในชามพอประมาณ เช็ดก้อนที่ 4, 5 และ 6 เช็ดเหมือน ก้อนที่ 1-3 ด้วย ส่วนก้อนที่ 7 ใช้เช็ดสะอาดให้เรียบร้อย
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่าที่สุขสบาย
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง (Perineal care of female)
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ปกติจะชำระให้วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ปุวยที่ได้รับ
การสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ปุวยทราบ
ยกเครื่องใช้ไปที่เตียง ปิดประตูหรือกั้นม่านให้มิดชิด เพื่อความเป็นส่วนตัวและลดความเขินอาย
3.ล้างมือให้สะอาด สวมถุงมือและmask และใช้ผ้าปิดตาผู้ปุวย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่าขึ้น
5.ให้ผู้ป่วยยกก้น สอดหม้อนอนด้านแบบเข้าใต้ตะโพก และจัดหม้อนอนพอดีตรงก้น
วางภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนไว้ใกล้หม้อนอน และชุดชาระไว้ด้านปลายเท้า
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง มาที่เตียงให้ครบถ้วน วางไว้ในที่เหมาะสมหยิบใช้สะดวก เปิด P-care set
ใช้ forceps ใน set หยิบสำลี 4 ก้อนออกจากชามกลมสำลีวางบนผ้าห่อของแล้ววาง forceps บนผ้าห่อของด้วย
เทน้ำสบู่ หรือสบู่เหลว บนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ของมือข้างซ้ายแหวก labia ออก และใช้มือขวาอีกข้างหนึ่งหยิบ forceps คีบสาลีในชาม
เท 0.9% NSS หรือน้าสะอาดบนสำลีในชามกลมพอประมาณเช็ดอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยวิธีเดียวกันก้อนที่ 4, 5 และ 6 ส่วนสำลีก้อนที่ 7 ใช้เช็ดสะอาดให้เรียบร้อย
เลื่อน bed pan ออก คลุมด้วย bed pad ปิด และเลื่อนผ้ายางผืนเล็กออก
ให้ผู้ป่วยวางขาลง เอาผ้าปิดตาออก จัดใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนในท่านอนหงายราบ
เก็บของใช้ไปทาความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจ
เกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
เกี่ยวกับ......
มีความทนในการทากิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค….
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องงเนื่องจากเป็นอัมพาต...
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกายเนื่องจาก....
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการ
พยาบาล ซึ่งขึ้นอยู่กับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความ
ปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน (Rest)
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการ
ทางานของอวัยวะต่าง
อาจทำกิจกรรมเบาๆ นันทนาการ
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึง
ความไม่วิตกกังวล
แบ่งออกเป็น
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทาให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง
สามารถทำกิจกรรมประจาวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ โดยมีการสร้างและสะสมพลังงาน ในขณะหลับ เวลาที่หลับสนิทในช่วงแรกในสามส่วนของการหลับทั้งคืนนั้น
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ มีการลดลงของออร์โมนคอร์ติซอล (cortisal hormone) ซึ่งเป็นฮอร์โมนเกี่ยวข้องกับขบวนการเผาผลาญอาหาร
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่นขณะอยู่เฉย โดยประมาณการลดพลังงานร้อยละ 15
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจา เนื่องจากการนอนหลับในระยะ (Rapid eye movement sleep: REM) จะมีการทางานของระบบประสาทเต็มที่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย โดยศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายอยู่ใต้สมองส่วนไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าทาหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ความทนต่อความเจ็บปวดลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง
ร่างกายสูญเสียพลังงานจากการเผาผลาญชนิดแคทตาบอลิซึม (catabolism) มาก
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย
อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลง
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทางานลดลง
มีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
การจัดระบบให้มนุษย์ต้องนอนหลับในช่วงกลางคืน
ในช่วงกลางวันการนอนหลับของบุคคลทั่วไปต้องการนอนหลับวันละ 7 ชั่วโมง
แบ่งออกเป็น 2 ช่วง
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
เป็นช่วงการหลับที่จะลึกลงไปเรื่อยๆ
แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่การนอน
ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาที
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวน
จากภายนอก
เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป
ขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน
ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายแทบจะหยุดการทางานกันหมด แต่ระบบการทางานของหัวใจ
ระยะนี้นี่เองเป็นระยะที่คนเราจะฝัน แต่ก็จะตื่นง่าย
ช่วงเวลาหลับฝันนี้จะกินเวลาประมาณ 30 นาที หลังจากผ่านช่วงหลับฝันไปแล้ว
แต่ละรอบจะใช้เวลา 80-120 นาที
ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง คือ
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่าเสมอ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง ตากลอกขึ้นหรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ทาให้แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
ตั้งแต่วัยทารกถึงวัยสูงอายุ ในผู้สูงอายุการนอนหลับจะ
ลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
เพศ
โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบ
แผนการนอนหลับได้เร็ว
มากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
พบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอนหลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
เป็นสิ่งแปลกปลอมของร่างกาย ประกอบกับผู้ปุวยมีข้อจากัดทาให้การเคลื่อนไหวลดลง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
ท่านอนมีผลต่อคุณภาพการนอนหลับ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย (general anesthesia) หรือการได้รับยาชาเฉพาะที่ (local anesthesia)
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
การตอบสนองของร่างกาย จะมีไข้ต่า หลังการผ่าตัด 3-4 วัน ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย และนอนไม่หลับได้
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ
ความวิตกกังวลเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพการนอนหลับ
ปัจจัยภายนอก
เสียง
เป็นปัจจัยสาคัญที่เกิดขึ้นในขณะนอนในโรงพยาบาล
แหล่งของเสียงรบกวนพบบ่อยที่สุด
เสียงที่เกิดจากกิจกรรมการพยาบาลดูแลผู้ป่วยของพยาบาลทั้งทางตรงและทางอ้อม
เสียงอุปกรณ์การแพทย์
สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยภายนอก
เสียงรบกวนจากผู้ปุวยอื่น
เสียงจากเจ้าหน้าที่
เสียงโทรศัพท์
การถูกรบกวนจากแสงไฟ และไม่มีความเป็นส่วนตัวจากการนอนรวมกับผู้อื่น
อุณหภูมิ
อุณหภูมิที่ต่าหรือสูงเกินไป จะทาให้ผู้ปุวยกระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
แสง
เป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ
การสัมผัสแสงตลอดเวลา ทาให้รู้สึกไม่สุขสบาย และรบกวนการนอนหลับได้
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
การเปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
ปัจจัยรบกวนการนอนหลับและคุณภาพการนอนหลับของ
ผู้ปุวยในโรงพยาบาล พบว่า เตียงนอนเป็นปัจจัยรบกวนการนอนหลับ
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่ผู้ปุวยได้รับตามเวลา
ป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับของผู้ปุวยได้
อาหาร
การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan)ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ
ยา
ยาที่รบกวนการนอนหลับ
ยาบาบิทูเรต (barbiturates
เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
ยาปิดกั้นเบต้ารีเซฟเตอร์ (beta-blocker drug)
ทำให้เกิดฝันร้าย
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids)
รบกวนการนอนหลับและทาให้นอนไม่หลับ
ยาขยายหลอดลม
ทาให้นอนหลับยากและรบกวนการนอนหลับ
ยาต้านอาการซึมเศร้า (antidepressant)
ทำให้แขนหรือขากระตุกเป็นระยะขณะนอนหลับเพิ่มขึ้น
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
ความผิดปกติในการนอนแบ่งเป็น 3 ลักษณะ
การนอนหลับไม่เพียงพอ (insomnia)
การนอนหลับมากหรือง่วงนอนมากกว่าปกติ (hypersomnia)
พฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับ (parasomnia)
Insomnia
เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
มี 3ลักษณะ
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน
มีสาเหตุมาจากปัญหาด้านอารมณ์ปัญหาตึงเครียดในชีวิต อาการเจ็บปุวยทางร่างกาย การเปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อม
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
มีสาเหตุเดียวกับการนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราวแต่มีเวลานานกว่า
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
สาเหตุ
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
การหลับที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถฝืนได้ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องผิดปกติต้องการการตรวจพิเศษเพื่อหาสาเหตุ
Parasomnia
เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับเป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้น
แบ่งเป็น 4 แบบ
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
อาการสับสน (confusion arousals)
ละเมอเดิน (sleepwalking)
ฝันร้าย (sleep terror)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
อาการขากระตุกขณะกาลังหลับ (hypnic jerks)
ละเมอพูด (sleep talking)
ศีรษะโขกกาแพง (head banging)
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะฝันร้าย (nightmares)
ภาวะผีอำ (sleep paralysis)
กลุ่มอื่น ๆ
การนอนกัดฟัน (sleep bruxism)
การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis)
การกรน (primary snoring)
การไหลตาย (sudden unexplained nocturnal death)
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลที่เกิดจากการนอนหลับที่ผิดกปติ จะทาให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย และจิตใจ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
เมื่อยล้า
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก เวียนศีรษะ
ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง
กล้ามเนื้อคออ่อนแรง
ภูมิต้านทานลดลง ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง
ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทาให้การทางานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้ และเครื่องอานวยความสะดวกต่างๆ จัดให้มีของใช้เฉพาะที่จาเป็นสาหรับผู้ปุวย
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียส มีการถ่ายเทระบายอากาศดี มีแสงสว่างส่องเพียงพอ
เสียง แหล่งกาเนิดเสียงจากภายนอกห้อง หรือเกิดจากผู้ให้บริการ
หรือ จากญาติที่มาเยี่ยมไข้
กลิ่น
กลิ่นหอม
กลิ่นรุนแรง ทำให้เวียนศีรษะได้ กลิ่นที่เหมาะสาหรับการสร้างความสุข
กลิ่นเหม็น
กลิ่นที่ส่งออกมาจากสิ่งขับถ่ายภายในร่างกายของคน
แสงสว่าง สภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป แสงสว่างที่ดีที่สุดควรเป็นแสงธรรมชาติ
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วย
การจัดท่าทาง เป็นการ เปลี่ยนอิริยาบถของผู้ปุวยเพื่อส่งเสริมความสุขสบาย
Dorsal position (supine position)
เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป
Fowler’s position
เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
Prone position
เป็นท่านอนคว่า เป็นท่านอนที่สุขสบาย สาหรับผู้ป่วย ที่ไม่รู้สึกตัว
Lateral position
เป็นท่านอนตะแคง จัดเพื่อความสุขสบายของผู้ป่วย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position
เป็นท่านั่งที่สุขสบายสาหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
การทำเตียง
การเปลี่ยนเครื่องผ้าที่ใช้กับเครื่องนอนให้สะอาด เรียบร้อย
หลักปฏิบัติการทำเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามลาดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ควรทาเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ปุวย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ปุวยควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทา ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทางานอย่างนุ่มนวลและสม่าเสมอ
ยึดหลักการทาเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
การทาเตียง มี 4 ชนิด
การทำเตียงว่าง (Close bed)
เป็นการทาเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ปุวย เพื่อเตรียมรับ
ผู้ปุวยใหม่
ทำเตียงที่ผู้ปุวยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย ให้หอผู้ปุวยเป็นระเบียบ
เรียบร้อย สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ปุวยใหม่
เครื่องใช้
เครื่องผ้า โดยเรียงลำดับการปูเตียงก่อนหลัง
ผ้าปูที่นอน
ผ้ายางขวางเตียง (ถ้าจำเป็น)
ผ้าขวางเตียง
ปลอกหมอน
ผ้าคลุมเตียง
ผ้าห่ม
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
วิธีปฏิบัติ
6.เก็บเยือกน้า แก้วน้ำ กระโถน และเครื่องใช้อื่น จัดบริเวณเตียงให้มีที่ว่างพอควร
วางหมอนที่พนักหัวเตียงหรือบนตู้ข้างเตียง สารวจรอยชารุดของที่นอนหากมีส่งซ่อมหรือเปลี่ยนใหม่
นำถังที่สะอาด และกระบอกฉีดน้าผสมผงซักฟอก และผ้าเช็ดเตียงวางไว้ใต้เตียง
ผ้าทุกชิ้นโดยดึงชายผ้าที่เหน็บไว้ใต้ที่นอนออกมาทั้งหมด
นำเครื่องผ้าที่เตรียมไว้ที่เรียงลำดับการใช้
ฉีดน้ำผสมผงซักฟอก เพื่อทาความสะอาดที่นอนและเตียงแล้วเช็ดตามด้วย
สวมถุงมือและผ้ากันเปื้อนพลาสติก เพื่อปูองกันสิ่งสกปรกปนเปื้อนเชื้อตนเอง
คลี่ผ้าปูที่นอนให้รอยพับกึ่งกลางตามความยาวของผ้าอยู่ตรงกึ่งกลางที่นอน
2.ถอดนาฬิกา และสวม mask
ปูผ้ายางในลักษณะขวางกับเตียงบนผ้าปูที่นอนระหว่างกึ่งกลางของเตียง
1.ล้างมือให้สะอาดก่อนจัดเตรียมเครื่องใช้และสิ่งแวดล้อม
12.ปูผ้าขวางเตียงทับบนผ้ายางในลักษณะเดียวกันแล้วเหน็บผ้าส่วนที่ขวางลงใต้ผ้ายาง
จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าที่ ทิ้งผ้าที่เปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
ปูผ้าห่ม แบบเดียวกับผ้าปูที่นอน คลุมหมอนให้มิดชิด
ล้างถังน้า ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
เก็บเหยือก และแก้วน้าทาความสะอาด ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือ ถอดmask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
การทาเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
เป็นการทำเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้ ไม่จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้ำใต้เตียง
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
วิธีปฎิบัติ
ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
เริ่มรื้อผ้าเหมือนการทาเตียงว่าง โดยม้วนด้านนอกไว้ด้านใน
เตรียมเครื่องใช้ไปที่เตียง พาดผ้าที่พนักเตียง วางถังน้าใต้เตียง
ฉีดน้าผสมผงซักฟอก แล้วเช็ดทาความสะอาดหมอน ที่นอน เตียง ตูข้างเตียงและเก้าอี้ เช็ดตามด้วยน้าสะอาด รอให้น้าแห้ง
ถอดนาฬิกา ใส่ mask ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และสวมถุงมือสะอาด
กลับที่นอนอีกด้านและเช็ดให้สะอาด
แนะนาตัวและบอกผู้ปุวยให้ทราบวัตถุประสงค์ของการทาเตียง
ปูที่นอนใหม่ เหมือนการทาเตียงว่าง
พับผ้าห่มเป็นทับซ้อนกับไปมาคล้ายพัด (fan fold) ไว้ที่ปลายเตียง
จัดเตียงและตู้ข้างเตียงให้เข้าที่ ทิ้งผ้าเก่าที่เปลี่ยนแล้วในถังผ้าเปื้อน
เติมน้ำในเยือกให้ใหม่ เปลี่ยนแก้วน้ำให้ใหม่
ล้างถังน้ำ ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
ถอดถุงมือ ถอด mask และล้างมือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
กระบอกฉีดน้าผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และ mask
วิธีปฏิบัติ
เดินกลับมาด้านตู้ข้างเตียง รื้อเตียงด้านตู้ข้างเตียง โดยดึงชายผ้าที่เหน็บใต้ที่นอนออกทุกชิ้น
ตลบม้วนผ้าขวางเตียงและผ้ายางให้ด้านบนของผ้าอยู่ด้านใน ม้วนชิดหลังผู้ปุวย
ทาเตียงที่ละด้าน โดยทาด้านตู้ข้างเตียงก่อน เดินอ้อมไปด้านตู้ข้างเตียงก่อน พลิกตัวผู้ปุวยให้นอนตะแคง
ตลบม้วนผ้าปูที่นอนเช่นเดียวกัน
ไขเตียงลงให้ราบ เก็บที่ไขเตียงเข้าที่
ฉีดน้าผสมผงซักฟอก เช็ดที่นอนด้วยน้าผสมผงซักฟอก เช็ดให้แห้งด้วยผ้าสะอาด รอให้น้าแห้ง
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
วางผ้าปูที่นอนตามยาวซีกด้านตู้ข้างเตียง ผ้าอยู่ตรงกลางที่นอน ปล่อยชายผ้าห้อยลงอีกครึ่งหนึ่งม้วนชิดหลังผู้ปุวย
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
เหน็บผ้าด้านหัวเตียง และปลายเตียงให้เรียบร้อย
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
ปูผ้ายางให้ม้วนด้านหนึ่งชิดหลังผู้ปุวยเหน็บชายผ้ายางเข้าใต้ที่นอน
ปูผ้าขวางเตียงให้สูงเลยขอบด้านบนของผ้ายางประมาณ 2 นิ้ว และให้ม้วนด้านหนึ่งชิดหลังผู้ปุวยเหน็บชายผ้าขวางเตียงเข้าใต้ที่นอน
พลิกตัวผู้ปุวยให้นอนหงายก่อน แล้วค่อยพลิกนอนตะแคง หันหน้าไปทางด้านที่เปลี่ยนผ้าใหม่ ยกเหล็กกั้นเตียงขึ้น เพื่อปูองกันผู้ปุวยตกเตียง
เดินอ้อมไปด้านตรงข้ามตู้ข้างเตียง พร้อมนาถังเช็ดเตียงไปด้วยรื้อผ้าออกโดยดึงชายผ้าที่เหน็บไว้ใต้ที่นอนออกทุกชิ้น
ดึงผ้าปูที่นอน ผ้ายาง และผ้าขวางเตียงชุดเก่าออกม้วนให้เข้าด้านใน
เช็ดที่นอนซีกที่เหลือด้วยน้าผสมผงซักฟอกให้สะอาด เช็ดแห้งด้วยน้าสะอาด รอให้น้าแห้ง
ดึงผ้าปูผ้าบนที่ม้วนชิดหลังผู้ปุวยไว้ทีละชิ้นจากชั้นล่างขึ้นมาทีละชิ้นดึงให้เรียบตึง
พลิกตัวผู้ปุวยให้นอนหงาย
ห่มผ้าให้ผู้ปุวย หรือผ้า upper sheet ทามุมผ้าปลายเตียงให้เรียบร้อย
ยกศีรษะผู้ป่วย เปลี่ยนปลอกหมอน การถอดและใส่ปลอกหมอน
นำผ้าเปื้อนทิ้งลงถังผ้าเปื้อน
เช็ด หัวเตียง ตู้ข้างเตียงเก้าอี้ และจัดของให้ เป็นระเบียบเรียบร้อย
เติมน้าในเยือกให้ใหม่ เปลี่ยนแก้วน้าให้ใหม่
ล้างถังน้า ผึ่งให้แห้งก่อนเก็บเข้าที่
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ ether/anesthetic bed)
เป็นการทำเตียงหลังจากส่งผู้ปุวยไปรับการผ่าตัดหรือการตรวจและได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ปุวยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ปุวยสาลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ปุวยอยู่ในภาวะอันตราย
เครื่องใช้
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
วิธีปฏิบัติ
วางเครื่องใช้ต่าง ใกล้เตียง หากผู้ปุวยต้องงดน้าและอาหารทางปาก ให้นาปูาย “งดน้ำและอาหารทางปาก” (NPO) ไว้ที่ปลายเตียง
พับผ้าคลุมเตียงซ้อนผ้าห่มทบไปมาไว้ที่ริมเตียง (fan fold) ด้านตรงข้ามที่จะรับผู้ป่วยขึ้นเตียง เพื่อสะดวกในการเคลื่อนย้ายขึ้นเตียง
ถ้าเตรียมรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ให้พิงหมอนไวที่พนักหัวเตียง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S: “นอนไม่หลับมา 3 วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตัวตื่น ”
O: จากการตรวจร่างกาย พบ ท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น ขอบตาทั้งสองข้างเขียว เหมือนคนอดนอนมาหลายวัน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ป่วย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
ไม่ให้ดื่มน้ำหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา และดูแลความปลอดภัย
งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
ให้มีกิจกรรมทาในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ ดูทีวี
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด และการจัดการกับความเครียด
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น