Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
พื้นฐานสำคัญของวัฒนธรรม
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์
เป็นองรวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม
เป็นสิ่งที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
ทำให้มนมีสภาวะที่ต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องมือกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
ความเชื่อ
การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฎณ์หนึ่งๆ ที่ได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อแบบประเพณี ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระธาตุและผีวีรบุรุษ
ความเชื่อแบบเป็นทางการ เป็นความเชื่อที่มีต่อหลักคำสอนในพระพุทธศาสนา
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ การขัดเกลาทางสังคม การควบคุมทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล ได้แก่ ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ และการเรียนรู้
ความเชื่อเกี่วยสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก เชื่อว่าเกิดจากเชื้อโรค พันธุกรรม พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม อุบัติเหตุ จิตใจ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล ท่าทางในการคลอด
การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด การตรวจครรภ์ก่อนคลอด การคลอดการจัดการเกี่ยวกับรก การร่อนกระด้ง
ระยะหลังคลอด
การอยู่ไป การอบสมุนไพร การอาบสมุนไพร การงดทานของแสลง การบำรุงร่างกาย
เชื่อเรื่องผี เชื่อเรื่องกรรม เชื่อเรื่องสมดุลธาตุ 4 ความเชื่อเรื่องมลทินของร่างกาย ความเชื่อเรื่องการบำรุงร่างกาย
ระยะตั้งครรภ์
คนโบราณเชื่อว่าการตังครรภ์เป็นผลมาจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักวาล
การดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
ความเชื่อและการดูแลสุภาพกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก ความเชื่อเกี่ยวกับตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกำเนิน มีหลักการดูอลคล้ายคลึงการแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน เชื่อว่าความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ สภาพภูมิอากาศ อาหาร อุบัติเหตุ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นจะดูแลสุขภาพโดย สมุนไพร ดูแลอาการ การดูแลด้านสุขภาพทางเพศ การดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
แบบการแพทย์แผนตะวันตก ดูแลด้านโภชนาการ ดูแลด้านฮอร์โมน การออกกำลังกาย การพัผ่อนนอนหลับ การดูแลด้านจิตใจ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ เชื่อว่าความเจ็บป่วยเกิดจากากกระทำของผี เวทมนต์และคุณไสย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย เชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม มุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณ ของผู้ตายและครือญาติ การสร้างสมความดีและผลบุญดพื่อการตายอย่างสงบ
ค่านิยม
ค่านิยมเป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมชิกสังคมนั้นๆโดยตรง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมทางสังคม
โรงเรียน เป็นสถาบันที่สร้างค่านิยมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก สอนให้เกิด ความคิด ความเชื่อ อันนำไปสู่แบบแผนการมีพฤติกรรมที่ดี
สถาบันศาสนา มีส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
ครอบครัว มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล เป็นหน่วยแรกที่สั่งสอนพฤติกรรมสังคม
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน การทำกิจกรรม การมีสังคม ทำให้มีการเรียนรู้และการยอมรับค่านิยมจากกิจกรรมเหล่านั้น
สื่อมวลชน เป็นบทบาทสำคัญในการเผยแพร่ความคิดหลายๆอย่าง ความคิดสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก
องค์การของรัฐบาลจะควบคุมโรงเรียนและสนับสนุนสถาบันศาสนาให้ทำหน้าที่ รัฐยังตรากฎหมายให้สิทธิและอำนาจแก่ครอบครัว
แนวคิดวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การทานอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารธรรมชาติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค เช่นการคว่ำกะลาหรือใส่ทรายอะเบทเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของยุงลาย
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค มีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยง ได้แก่ ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน แบบพื้นบ้าน และแบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่น การดูแลพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์ เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ เช่น สังคมแอฟริกันให้เด็กกินดิน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การให้ทารกกินนมแน่นานถึง 2ปี
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ เช่น การทานอาหาร สุกๆ ดิบๆ เป็นสาเหตุโรคพยาธิ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ ใช้หลัก ASKED
Awareness หมายถึง การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรมและวิธีการแก้ไขปัญหา
Skill หมายถึง การมีทักษธเกี่ยวกับวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการดูแลแบบองค์รวมที่สอดคล้องกับบริบทของวัฒนธรรม
Knowledge หมายถึง การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม มีการแสวงหาความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ เพื่อให้ความสามารถเข้าใจโลก
Encounter หมายถึง ควาสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
Desire หมายถึง ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม ของบุคลาการทางการแพทย์