Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความหมาย
เป็นการดูแลสุขภาพตนเองการทำความสะอาดร่างกายตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกๆวันเพื่อสร้างความมั่นใจในการอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน เช่น เด็กเล็กไม่สามารถดูแลได้ด้วยตนเองผู้ปกครองต้องให้การดูแลและผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการดูแลลดลงผู้ดูแลต้องให้การดูแลทดแทนแบบพึ่งพา
เพศ
เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอและไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชาย ความต้องการการดูแลส่วนบุคคลอาจต้องการความนุ่มนวลละเอียดอ่อนมากกว่าผู้อื่น
ภาวะสุขภาพ
ภาวะสุขภาพการละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลหรืออาจมีปัญหาสุขภาพร่างกายอ่อนแอระบบประสาทกล้ามเนื้อทำงานได้ไม่ดีทำให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงหรือไม่ได้ปกติ
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษามักจะศึกษาค้นคว้าและมีความรู้ในด้านการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งทราบถึงประโยชน์และโทษของการดูแลสุขอนามัย
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดีย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงและให้เวลากับการดูแลสุขอนามัยมากขึ้น
อาชีพ
บุคคลที่มีความรู้หรือมีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจึงให้ความสำคัญและใส่ใจต่อการดูแลสุขอนามัยได้อย่างดี
ถิ่นที่อยู่
การใช้ชีวิตและมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยมีความแตกต่างกันอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
ภาวะเจ็บป่วย
ที่ร่างกายอ่อนแอ ทำให้การดูแลสุขอนามัย
ลดลงจึงต้องการการดูแลทดแทนจากผู้อื่น
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอน
เช้าตรู่หรือเช้ามืด
(Early morning care)
เมื่อผู้ป่วยตื่นนอนแล้วพยาบาลจะดูแลผู้ป่วยช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ การให้กระบอกปัสสาวะ หรือ หม้อนอน การทำความสะอาดร่างกาย เช่น การเช็ดหน้า ล้างมือ ทำความสะอาดปากและฟันเพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่นในช่วงเช้าและพร้อมที่จะพบปะบุคคลอื่นๆรวมทั้งพร้อมที่จะรับประทานอาหารเช้า
การพยาบาลตอนเช้า
(Morning/A.M care)
เป็นการพยาบาลเพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน ถ้าผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้บ้างหรือทำไม่ได้เลย พยาบาลจะช่วยในการอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง การจัดท่านอนให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบาย รวมทั้งจัดสิ่งแวดล้อมภายในห้องและความปลอดภัยสำหรับผู้ป่วยตลอดจนการรักษาพยาบาลอื่นๆและแผนการรักษา
การพยาบาลตอน
บ่ายหรือตอนเย็น
(Afternoon care/ P.M.care)
เป็นการดูแลทำความสะอาดของผู้ป่วย เช่นดูแลทำความสะอาดเรื่องปากฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผม การบริการหม้อนอน ตลอดจนการรักษาพยาบาลอื่นๆ
การพยาบาลตอนก่อนนอน
(Evening care /
Hour of sleep care)
เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้า ทำความสะอาด การนวดหลัง การจัดท่าให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและเตรียมเข้านอนช่วยในการพักผ่อนนอนหลับได้ดี
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
(As needed care/P.r.N.care)
การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง
เช่นถ้าผู้ป่วยปัสสาวะรดที่นอน เปียกทั้งตัว พยาบาลจะต้องเช็ดตัวทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเปลี่ยนเสื้อผ้าผู้ป่วย ผ้าปูที่นอนให้ผู้ป่วย
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาด
ของผิวหนัง | การอาบน้ำ
(Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ(Shower)
พยาบาลช่วยพยุงเดินเข้าไปห้องน้ำ ช่วยเตรียมของใช้ให้พร้อมจัดถ้านั่งในห้องน้ำให้สะดวกต่อการช่วยตนเองในการอาบน้ำ พยาบาลต้องประเมินความสามารถการทำกิจกรรมของผู้ป่วยก่อนพาไปอาบน้ำที่ห้องน้ำเพราะผู้ป่วยอาจมีอาการหน้ามืดหรือเป็นลมได้ พยาบาลต้องระวังผู้ป่วยพัดตกหกล้มโดยอยู่ใกล้ใกล้ห้องน้ำ ไม่ควรใส่กลอนประตูห้องน้ำ
ควรเรียกผู้ป่วยเป็นครั้งคราว
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน(Partial bath)
เป็นการทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องเช็ดบางส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถเช็คเองได้
เช่น บริเวณหลัง
การประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่ในระดับ1-2
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์(Complete bed bath)
เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ำเช็ดตัวให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด โดยพยาบาลเป็นผู้อาบน้ำให้การประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมของผู้ป่วยอยู่ในระดับ3-4
การนวดหลัง
การนวดหลังเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ป้องกันแผลกดทับ
และทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคาย ลดความตึงตัว กระตุ้นผิวหนังและ
ต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น ได้สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
การดูแลความ
สะอาดปากและฟัน
วิธีการทำความสะอาด
พยาบาลแนะนำตนเองบอกผู้ป่วยให้ทราบวิธีการทำความสะอาดปากและฟันอย่างง่ายเพื่อความร่วมมือ
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูงหรือนั่ง
ล้างมือและสวมถุงมือเพื่อป้องกันจุลินทรีย์จากช่องปากสู่พยาบาล
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง
เพื่อป้องกันเสื้อผ้าและที่นอนเปียก
ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาดและแบ่งปันตามขั้นตอน
เก็บของใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกทางการพยาบาล
อุปกรณ์
Syringe 10 cc
ลูกสูบยางแดง
น้ำยาบนปาก
แก้วน้ำ ไม้พันสำลี ชามรูปไต ไม้กดลิ้น
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก
3%hydrogen peroxide
จุดประสงค์
เพื่อให้ปากและฟันสะอาด กำจัดกลิ่นปากลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม และสังเกตฟัน หรือการติดเชื้อหรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความ
สะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาดและสุขสบาย ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องมือ
ถาดใส่สบู่ ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้ำอุ่น ถุงมือสะอาดและ mask
วิธีการปฏิบัติ
แนะนำตัวอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
จัดวางอุปกรณ์ ให้เรียบร้อยเพื่อสะดวกในการใช้
แช่มือหรือเท้าสักครู่เพื่อให้เล็บอ่อนตัว
ใช้ผ้าเช็ดตัวถูสบู่ฟอกขัดตามซอกเล็บ
เช็ดมือและเท้าให้แห้งปูกระดาษรอง
ตัดเล็บให้ปลายเล็บตรงและข้างไม่โค้ง ควรปล่อยให้ยาวกว่าปลายนิ้ว
ใช้ตะไบถูเล็บให้ขอบเล็บเรียบ
เก็บของไปทำความสะอาดและใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดเครื่องมือ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การทำความสะอาดของตา
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทำความสะอาดดวงตา
ความสุขสบายของผู้ป่วย ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสำลี 0.9%NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาดและหน้ากากอนามัย
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
จัดวางของให้สะดวกต่อการใช้
จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงด้านที่ต้องการทำความสะอาด
ใช้สำลีชุบ 0.9%NSS พอหมาดๆ มาเช็ดจากหัวตาไปหางตา ถ้าขี้ตาแห้งติดหนังตาหรือขนตา ควรวางสำลี ไว้บนหนังตาให้ขี้ตาอ่อนตัวก่อน
ใช้สำลีหนึ่งก้อนต่อหนึ่งครั้ง
สังเกตลักษณะและจำนวนของขี้ตาเพื่อประเมินสภาพของตา
ถ้าพบสิ่งผิดปกติจะได้แก้ไขต่อไป
ลงบันทึกทางการพยาบาล
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้ ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
เครื่องใช้
ถ้าถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาดหรือ0.9%NSS
ไม้พันสำลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
ผ้าก๊อซ
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงายศีรษะสูง สวมถุงมือ
ใช้สำลีชุบเบนซินเช็ดคราบพลาสเตอร์
เช็ดด้วยสำลีชุบน้ำเกลือแล้วเช็ดตามด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์
ใช้ไม้พัน สำลีชุบน้ำเช็ดในรูจมูกเบาๆโดยรอบถ้ามีสายคาที่จมูกอยู่ให้เช็ดรอบสายที่คาอยู่ในจมูกเพื่อกำจัดสารคัดหลังและสิ่งกับสกปรกในรูจมูก ถ้าไม่เช็ดออกจะทำให้สกปรก ทำให้เจ็บขนาดดึงสายออกอาจมีเลือดออกได้
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
ภายนอกของชายและหญิง
เครื่องใช้
ผ้าปิดตา
ถุงมือสะอาด
หม้อนอนพร้อมผ้าคุมหม้อนอน
ถาดใส่ของประกอบด้วย น้ำเกลือ น้ำสบู่ ชุดชำระ
ภาชนะใส่ขยะหรือกระโถนกระดาษชำระสองถึงสามชิ้น
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์
ยกเครื่ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงปิดประตูหรือการม่านให้มิดชิด
เพื่อความเป็นส่วนตัวและลดความเขินอาย
ล้างมือให้สะอาดจัดผู้ป่วยให้นอนหงายเปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
ใช้forceps ใน set หยิบสำลีออกจากชามกลม
วางบนผ้าห่อ 4ก้อนวาง forcep บนผ้าห่อ
เทน้ำสบู่หรือสบู่เหลวบนสำลีในชามกลมพอประมาณ
ใช้มือข้างซ้ายจับองคชาตแล้วก็ค่อยรูดหนังหุ้มปลาย
เเอาผ้าปิดตาออกจะใส่เสื้อผ้าให้เรียบร้อยและจัดให้นอนท่าที่สุขสบาย
เก็บของไปทำความสะอาดลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
สุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินระดับความสามารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผม และหนังศีรษะ ตา หู จมูก
ประเมินปัญหาความเสี่ยงของการรักษา
และอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การวินิจฉัยทาง
การพยาบาล
(Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเอง
เนื่องจากมีความเคลียดเกี่ยวกับ.......
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลง
เนื่องจากเหนื่อยง่ายจากเป็นโรค
เคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องเนื่องจากเป็นอัมพาต
พร่องความสามารถในการดูแล
ความสะอาดร่างกายเนื่องจาก....
การวางแผนการพยาบาล
(Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแลเพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลซึ่งขึ้นอยู่กับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง
การทำความปากและฟัน เส้นผม และหนังศีรษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผลการพยาบาล
(Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมาย
ผ่อนคลาย
เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคายความตึงเครียดลดความกังวล และมีความสงบทางจิตใจร่างกาย รวมถึงความไม่วิตกกังวลสงบหรือผ่อนคายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์เพราะฉะนั้นการพักผ่อนไม่ได้หมายถึงการไม่มีกิจกรรมความจริงแล้วการเปลี่ยนอริยาบทก็เป็นการพักผ่อนสำหรับบางคนได้
การนอนหลับ
ระดับการรู้สึก สติลดลงมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลงทุกส่วนทำงานลดลง รวมทั้งสภาวะจิตใจและมีการเอนกายลงในท่าสงบนิ่ง และหลับตาเป็นภาวะที่เกิดขึ้นชั่วคราวปลุกให้ตื่นได้โดยมีการกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าที่เหมาะสม
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต
ซ่อมแซมส่วนสึกหรอหรอโดยมีการสร้างและสะสมพลังงานในขนาดหลับร่างกายจะสังเคราะห์โปรตีนเพิ่มมากขึ้นและเกิดการเผาผ่านกดไขมันให้เป็นพลังงานเซลล์กระดูกและเม็ดเลือดแดงมีการแบ่งตัวเพิ่มขึ้น
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อใหม่
ช่วยส่งเสริมการหายของแผล รวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไปขณะนอนหลับพบว่ามีการลดลงของฮอร์โมนโคติดซอลซึ่งเป็นฮอร์โมนเกี่ยวห้องกับขบวนการเผาผลาญอาหาร
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกาย
และสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำเนื่องจากการนอนหลับจะมีการทำงานของระบบประสาทเต็มที่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในร่างกายจะทำให้ระยะเวลาในการนอนหลับลึกเพิ่มมากขึ้นอัตราการเผาผลาญลดลงจึงทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดลง
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ. เช่น อาการเมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียนท้องผูก ปวดศีรษะ ความคิดและการรับรู้บกพร่อง ตัดสินใจได้ช้า
และรู้สึกว่าตนเองมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นได้ง่าย สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลงร่างกายใช้ออกซิเจนมากเสียกว่าที่จะผลิตได้การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆล้มเหลวนอกจากนี้. การแปลปวนการนอนหลับยังทำให้อุณหภูมิและภูมิต้านทานของร่างกายต่ำกว่าปกติ
ผลกระทบต่อ
จิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่ายอาจมีอาการซึมและหงุดหงิดโมโหง่ายเกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจากสิ่งเร้าลดลงมีการหวัดระแวงและหูแว่ว
ผลกระทบต่อสติ
ปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฎิบัติ
กิจกรรมในช่วงกลางวันลดลงสมาธิไม่ดีและแก้ปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจใน
การทำงานลดลงและมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep:NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่การนอนในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาทีถึง 7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้นเป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอกเป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริงแต่ยังไม่มีการสันระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งขึ้นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลงความมีสติรู้ตัวจะหายไปการเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลงแม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่ายขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 ถึง 30 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอนใช้เวลา 30 ถึง 50 นาทีหากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่สี่นี้อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้ระยะอุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลงอัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี้
ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep:REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมดแต่ระบบการทำงานของหัวใจกระบังลมเพื่อการหายใจกล้ามเนื้อตาและกล้ามเนื้อเรียบเช่นหลอดเลือดและลำไส้โดยในช่วงนี้น่าจะกรอกไปซ้ายขวาอย่างรวดเร็วร่างกายจะได้พักผ่อนแต่สมองก็ยังซึ่งตัวอยู่ระยะนี้ช่วยจัดระบบความจำทำให้จำเรื่องบางเรื่องได้นานขึ้นระยะนี้เองเป็นระยะที่คนเราจะฝันแต่ก็จะตื่นง่าย
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อน
และการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงโดยมีผลต่อวงจรการนอนหลับตั้งแต่วัยทารกถึงวัยผู้สูงอายุในผู้สูงอายุการนอนหลับจะลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
เพศ
ชายจะมีเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิงเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุใหญ่ตอนต้นพบว่าการนอนหลับในระยะอาร์อีเอ็มลดลง ตื่นขนาดหลับ เพศหญิงจะพบการนอนที่เปลี่ยนแปลงในวัยกลางคนและคงสภาพความลึกของปริมาณการนอนหลับได้มากกว่าจนถึงวัยชราแต่เพศหญิงจะมีความไวต่อการกระตุ้นด้วยเสียงมากกว่าเพศชาย
ปัจจัยไม่สุขสบาย
ความเจ็บป่วย
พบว่าความเจ็บป่วยเป็นปัจจัยกวนการนอนหลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
เป็นสิ่งแปลกปลอมของร่างกายทำให้การเคลื่อนไหวลดลงจึงมีความเจ็บปวดอยู่ในระดับปานกลางซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการนอนหลับ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
ท่านอนของผู้ป่วยที่นอนหลับไม่เพียงพอมักเป็นท่านอนหงายหรือนอนในท่าที่หลังและไหล่เหยียดตรงเป็นเวลานานนาน
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกายหรือการได้รับยาชาเฉพาะที่โดยมักพบในผู้ป่วยหลังผ่าตัดนอกจากนี้ความวิตกกังวลสูงและความปวดอาจเกิดอาการขึ้นไส้อาเจียนจะส่งผลกระทบต่อการนอนหลับได้
ภาวะไข้
หลังผ่าตัดการมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัดเป็นปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายจะมีไข้ต่ำต่ำหลังการผ่าตัดสามถึงสี่วันทำให้เกิดความไม่สุขสบายและนอนไม่หลับ
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆเป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพการนอนหลับอยู่ในระดับ 3.03 จากคะแนนเต็ม 5คะแนนเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกายและจิตใจ
ปัจจัยภายนอก
เสียง
เสียงมีความสัมพันธ์ทางลบกับการนอนหลับทำให้ระยะเวลาเริ่มต้นการนอนหลับนานขึ้นเวลานอนหลับน้อยลงตื่นบ่อยขึ้นทำให้คุณภาพการนอนหลับไม่ดี
อุณหภูมิ
อุณหภูมิที่ต่ำหรือสูงเกินไปจะทำให้ผู้ป่วย
กระสับกระส่ายเพิ่มขึ้นและตื่นบ่อยขึ้น
แสง
การเปิดไฟเพื่อให้การพยาบาลบ่อยครั้งเป็นการรบกวนการนอนหลับของผู้ป่วยการที่มีแสงจ้าเกินไปและการเปิดไฟไว้ตลอดเวลาทำให้การรับรู้ความแตกต่างของเวลากลางวันและกลางคืนลดลงส่งผลรบกวนต่อการนอนหลับได้ทำให้รู้สึกไม่สุขสบายและรบกวนการนอนหลับได้
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
การเปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่และการด้วยถ้ายังหรือพลาสติกกันเปื้อนสิ่งสกปรกทำให้ร้อนและเหงื่อออกมากผู้ป่วยรู้สึกอึดอัดไม่สุขสบายจะส่งผลต่อคุณภาพในการนอนหลับ
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
การให้อยากกินและยาฉีดการให้อาหารและการตรวจวัดสัญญาณชีพเป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับของผู้ป่วยได้
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญยิ่งสำหรับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพราะช่วยให้ผู้ป่วยสุขสบายพักผ่อนได้แล้วหายจะจากโลกเร็วขึ้นผู้ป่วยที่เข้ามารักษาตัวในโรงพยาบาลแล้วมีความรู้สึกไม่สบายทั้งร่างกายและจิตใจจึงเป็นหน้าที่สำคัญของพยาบาลในการจัดสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วยให้น่าอยู่รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อมให้ความต้องการของผู้ป่วย
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
การทำเตียง
การเปลี่ยนเครื่องผ้าที่ใช้กับเครื่องนอนให้สะอาดเรียบร้อย