Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ, image, image, image,…
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
ภาวะเจ็บป่วย
เครียดจากการเจ็บป่วยจนไม่ดูแลตัวเอง
สิ่งแวดล้อม
อากาศร้อนทำให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
อาชีพ
บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
ห้ามสระผมขณะมีไข้เพราะจะทำให้เจ็บปุวยมากขึ้นหรือหลังคลอดบุตรห้ามสระหรือตัดผม
เศรษฐกิจ
คนที่มีฐานะดีกว่าย่อมดูแลตัวเองมากกว่าคนฐานะไม่ค่อยดีเพราะมีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์มาดูแลสุขอนามัยตนเอง
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทราบถึงประโยชน์ และโทษของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เพศ
ผู้หญิงดูแลแบบ ละเอียด นุมนวล มากกว่าเพศชาย
ภาวะสุขภาพ
เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง ทำให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงหรือไม่ได้ปกติ
ถิ่นที่อยู่
อายุ
ความชอบส่วนบุคคลในการสุขอนามัยตนเอง
การดูแลความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย
การดูแลความสะอาดของเล็บ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจการดู
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Completebed bath)
จุดประสงค์
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
การนวดหลัง(Back rub or back massage)
Kneading
เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
Beating
เป็นการกำมือหลวมๆ ทุบเบาๆ บริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น (Gluteal muscle)ใช้กำมือหลวมๆทั้งสองข้างทุบเบาๆ และเร็วๆ สลับขึ้นลงบริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น ทำอย่างน้อย 12 ครั้ง
Friction
เป็นการใช้ฝ่ามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อไหล่(trapezins) กล้ามเนื้อสีข้าง(latissimusdorsi) ทั้งสองข้างนิ้วชิดกัน วางฝ่ามือทั้งสองข้างลงบนกล้ามเนื้อแล้วถูขึ้นลงสลับกันตามกล้ามเนื้อ ทำอย่างน้อย 12 ครั้ง
Hacking
เป็นการใช้สันมือสับเบาๆ ใช้สันมือด้านนิ้วก้อยสับสลับกันเร็วๆ โดยการกระดกข้อมือสับขวางตามใยกล้ามเนื้อบริเวณตะโพก ก้นและต้นขาทำซ้ าประมาณ10 ครั้ง
Stroking
เป็นการลูบตามแนวยาวใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างวางที่บริเวณก้นกบ ค่อยๆ ลูบขึ้นตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอ ให้น้ าหนักกดลงที่ปลายนิ้วแล้วอ้อมมาที่ไหล่ สีข้าง และตะโพกท าช้าๆ เป็นจังหวะประมาณ 3-5 ครั้ง
Clapping
เป็นการใช้อุ้งมือตบเบาๆ โดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันทั้งสองข้าง ให้เกิดช่องว่างตรงกลางฝ่ามือตบเบาๆ สลับมือกัน โดยกระดกข้อมือขึ้นลงทั่วบริเวณหลัง ทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
หลักการนวดหลัง
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้งหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ภาวะมีไข้ โรคผิวหนัง โรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
การลูบตัวลดไข้ (Tepid sponge)
ช่วยกระตุ้นให้การไหลเวียนของโลหิตและอวัยวะทำงานดีขึ้น
ช่วยให้ประสาทคลายความตึงเครียด ผ่อนคลาย และลดอาการกระสับกระส่าย
ลดอุณหภูมิในร่างกาย
การอาบนำ้ที่ห้องน้ำ
(Bathing in bath room/ Shower)
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้การดู
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หญิง
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย คลุมผ้าห่มตามแนวขวาง เลื่อนผ้านุ่งขึ้นไปถึงเอว ให้ผู้ป่วยนอนหงายชันเข่าขึ้น (dorsal recumbent position) เหน็บผ้าห่มคลุมขา (drape) ให้เรียบร้อย
ชาย
จัดผู้ป่วยให้นอนหงาย (dorsal position) เปิดเฉพาะส่วนอวัยวะสืบพันธุ์
จุดประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขสบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
การดูแลทำความสะอาดของหู
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหูการดู
กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย คู่ อายุ 68 ปี แพทย์วินิจฉัยเป็นโรคอัลไซเมอร์มาโรงพยาบาลด้วยอาการรับประทานอาหารได้น้อย น ้าหนักลดลง จาก 50 กิโลกรัมเหลือ 42 กิโลกรัมในเวลา 2สัปดาห์ แพทย์รับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล จงใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลส าหรับผู้ป่วยรายนี้
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
พื่อให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ าและสระผมบนเตียงเป็นการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจ าวัน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
ผู้ป่วยมีความพึงพอใจจากการได้รับการอาบน้ าและสระผมบนเตียง
การวางแผน
จัดเตรียมอุปกรณ์อาบน้ า และสระผมบนเตียงให้ครบแล้วนำไปที่ เตียงผู้ป่วย
วางแผนให้การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจ าวัน: อาบน้ำและสระผมบนเตียง
จัดเตรียมเสื้อผ้าชุดใหม่ ผ้าปู และปลอกหมอน อย่างละ 1 ชุด
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฏิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินความสะอาดเส้นผม
ประเมินความสะอาดผิวหนังของร่างกาย
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
โดยการให้คะแนนระดับดีมาก-ดี-ปานกลาง-ปรับปรุง
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สามารถดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวันได้เนื่องจากมีภาวะความจำเสื่อมและไม่สนใจตนเอง
ข้อมูลสนับสนุน: เป็นผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S : ญาติผู้ป่วยบอกว่า “ผู้ป่วยทานอาหารได้น้อยมา 2 สัปดาห์ เมื่อ 2 วันก่อนไม่ยอมรับประทานอาหาร”
O : หญิงไทยสูงอายุ คู่ ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์มีความจำเสื่อมจำบุคคล
รอบข้างไม่ได้ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อมรอบข้าง อ่อนเพลีย ซีด รูปร่างผอมแขนซ้าย On 5%D/N/2 1000 ml v drip in 30 drop/min เหลือ 500 ml
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ให้บริการอาบน้ าบนเตียงให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการปฏิบัติอาบน้ าผู้ป่วยบนเตียง
เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนให้ใหม่
ให้บริการสระผมให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการสระผมผู้ป่วยบนเตียง
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
บอกผู้ป่วยให้ทราบ
ลงบันทึกการพยาบาล
ความหมายและความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
เมื่อบุคคลอยู่ในภาวะเจ็บปุวย จะไม่มีความสุขทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจดังนั้นพยาบาลจึงต้องส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บปุวยนั้น
เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
คือ การส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรคโดยการดูแลความสะอาดส่วนต่าง ๆของร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง ผม เล็บ ปาก ฟัน ตา หู จมูก และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ผู้ปุวยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจมีคุณภาพที่ดีและมีความสุข
การพยาบาลในช่วงเวลาต่าง ๆ
การพยาบาลตอนเช้าตรู่ (Early morning care)
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/A.M care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ HS care)
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As-needed/ prncare)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M care)
การทำเตียง
การทำเตียงว่าง (Close bed)
การทำเตียงที่รอรับผู้ป่วยใหม่
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การทำเตียงในผู้ป่วยคนเดิมที่สามารถลุกจากเตียงได้
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
ทำเตียงผูป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ(Surgical/ether/anesthetic bed)
ทำเตียงในผู้ป่วยที่ไปห้องผ่าตัดหรือได้รับยาสลบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตั
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ
อายุ
ปัจจัยภายนอก
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
อุณหภูมิ
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
เสียง
อาหาร
ยา
ประเมินคุณภาพการนอนหลับและการนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia
การนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
การหลับที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถฝืนได้
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
การนอนกัดฟัน (sleep bruxism) การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis) การกรน (primary
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia) ระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia) เกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
สาเหตุ
โรคทางอายุรกรรม
ยารักษาโรคบางชนิด
โรคทางจิตเวช
โรคของการนอนหลับโดยตรง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
ช่วงเวลาสั้น 3-5 วัน
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
เมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูกเวียนศีรษะ ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ภูมิต้านทานลดลง ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ความหมายและความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อน(Rest)หมายถึง การพักกิจกรรมการท างานของร่างกาย หรือการพักการท างานของอวัยวะต่าง
การพักผ่อนของผู้ปุวยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
การทำกิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
Bed rest
สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย
ผ่อนคลายและมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกายรวมถึงความไม่วิตกกังวล
ความสำคัญ
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิดโมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
สมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
มีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
วงจรของการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
หลังจากผ่านช่วงหลับฝันไปแล้ว ก็จะกลับเริ่มที่ระยะที่ 1 ของ NREM ใหม่
หมุนเวียนอย่างนี้ไปเรื่อย โดยแต่ละรอบจะใช้เวลา 80-120 นาที
ช่วงเวลาหลับฝันนี้จะกินเวลาประมาณ 30 นาที
การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
เสียง
กลิ่น
กลิ่นสะอาด และสดชื่น
กลิ่นที่ส่งออกมาจากสิ่งขับถ่ายภายในร่างกาย
อุณหภูมิ
ความอบอุ่น
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้
แสงสว่าง
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน
เด็กต้องได้รับการดูแลจากผู้ใหญ่เพราะยังดูแลสุขอนามัยตัวเองยังไม่ได้
ผู้ใหญ่ดูแลตัวเองได้ลดลง
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้
ผู้ป่วยช่วยตัวเองได้บางส่วน