Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
ดูแลสุขภาพตนเองเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน
การทำความสะอาดร่างกาย
ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐาน
สร้างความมั่นใจในการอยู่รวมกับสังคม
ได้อย่างมีความสุข
บุคคลอยู่ในภาวะเจ็บป่วย
ไม่มีความสุข
สุขภาพใจ
สุขภาพกาย
พยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาล
สุขอนามัย (Hygiene)
หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพ
การป้องกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
การดูแลตนเอง
การอาบน้ำ การขับถ่าย
ดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
ความแตกต่างของอายุ
ความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่าง
เพศ
เพศหญิงไวต่อความรู้สึก
ความนุ่มนวล
ละเอียดอ่อน
มีความเกรงใจ
ความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน
ภาวะสุขภาพ
ขาดความสนใจ
เจ็บป่วยรุนแรงหรือเรื้อรัง
เจ็บปวด
เจ็บป่วยทางสุขภาพจิต
ละเลยการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
ร่างกายอ่อนเพลีย
ระบบประสาทกล้ามเนื้อทางานได้ไม่ด
การศึกษา
มีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาด
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์
อาชีพ
มีส่วนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
ถิ่นที่อยู่
เขตเมืองและชนบท
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
.ความชอบ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
สามารถพิจารณากระทำได้ทันที
โดยไม่ต้องมีคำสั่งของแพทย
ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัย
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
(Early morning care)
หน้าที่ความรับผิดชอบ
พยาบาลเวรดึก
ให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่าย
ทำความสะอาดร่างกาย
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
หน้าที่ความรับผิดชอบ
พยาบาลเวรเช้า
ให้การพยาบาลภายหลังผู้ป่วย
รับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย
ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
หน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า
ทำกิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น.
หน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
ทำกิจกรรมช่วงเวลาตอนเย็น
ทำความสะอาดปากและฟัน
ล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผม
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
ให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วย
ตลอด 24 ชั่วโมง
การดูแลความสะอาดร่างกาย
พยาบาลต้องเป็นผู้ให้การดูแลความสะอาด
ของร่างกายของผู้ป่วย
หลักการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/
การอาบน้ำ(Bathing)
ดูแลความสะอาด
หู ตา จมูก เล็บ
เส้นผมและหนังศีรษะ
อวัยวะสืบพันธุ์ภาย
ปากและฟัน
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
(Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
(Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
(Complete bed bath)
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรก ส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
กระทำหลังจากการอาบน้ำหรือก่อนนอน
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
ทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น
ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติเชื้อ
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก
ทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ
สำลีที่ใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อยๆ
การทำความสะอาดปากและ
ฟันผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้
พยาบาลแนะนำตนเอง
บอกให้ผู้ป่วยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์
วิธีการทำความสะอาดปากและฟันอย่างง่าย
นำเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
ล้างมือและสวมถุงมือ
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง
ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด และแปรงฟันตามขั้นตอน
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
เครื่องใช้
syringe 10 cc
ลูกสูบยางแดง (baby ball หรือ syringe ball)
น้ำยาบ้วนปาก เช่นน้ำเกลือ น้ำยาบ้วนปาก
(special mouth wash)
แก้วน้ำ ไม้พันสำลี ชามรูปไต
ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสำลี
3% hydrogen peroxide
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก
วาสลิน
พยาบาลให้การช่วยเหลือ
ทำความสะอาดปากและฟัน
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลความสะอาดของตา
แก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
การทำความสะอาดตาที่มีขี้ตา
การดูแลอนามัยของตาในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
การทำความสะอาดตา
ผู้ป่วยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติ
ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา
จำเป็นต้องกำจัดออก ไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสำลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลทำความสะอาดของหู
ใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้ง
เช็ดทำความสะอาดช่องหูหลัง
อาบน้ำควรใช้ไม้พันสำลีเช็ดทำความสะอาดในช่องหูทั้ง 2 ข้าง
ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยฟัง
ต้องดูแลเป็นพิเศษ
เช็ดทำความสะอาดส่วนประกอบของเครื่องช่วยฟัง
เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่
ระมัดระวังในการปรับเสียง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
0.9% NSS หรือน้ำสะอาด
สำลีสะอาด หรือไม้พันสำลี 4 อัน
ผ้าสะอาด ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
ทำความสะอาดรูจมูก
รักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูก
ผู้ป่วยที่คาสายไว้
สายยางให้อาหาร
สายออกซิเจน
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว
เครื่องใช้
ถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาดหรือ 0.9% NSS
ไม้พันสำลีขนาดเล็ก 4-8 อัน
ผ้าก๊อซ ชามรูปไต กระดาษเช็ดปาก
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% สำลีชุบเบนซิน และสำลีชุน้ำเกลือใช้ภายนอก
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะ
แก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม
และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
เครื่องใช้
ถาดใส่ยาสระผม หวี หรือแปรงผม ที่หนีบผ้า
ผ้าเช็ดตัว 2 ผืน สำลี 2 ก้อน ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก 1 ผืน แก้วน้ำ และน้ำมันมะกอก (ถ้ามี)
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้ำทิ้ง
ผ้ายางรองสระผม
เครื่องเป่าผม
ถุงมือสะอาด และmask
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย
(Perineal care of male)
ขาหนีบ ฝีเย็บ
บริเวณทวารหนัก
P-care หรือ flushing
เครื่องใช้
ผ้าปิดตา
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน (bed pan) พร้อมผ้าคลุมหม้อนอน (bed pad) ผ้ายางผืนเล็ก
ถาดใส่ของ
น้ำสบู่ หรือสบู่เหลว
ชุดชำระ (P-care set)
ชามกลม (bowl)
สำลีก้อนใหญ่ 7 ก้อน
ปากคีบ (forceps) 1 ตัว
ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
กระดาษชำระ 2-3 ชิ้น
น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอกหรือน้ำสะอาด
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง (Perineal care of female)
ขาหนีบ ฝีเย็บ
บริเวณทวารหนัก
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก กลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
ผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัย
ส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย
การพักการทำงานของอวัยวะต่าง
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
พักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดๆ
Bed rest
พักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ
กระบวนการทางสรรีรวิทยา่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
ระดับการรู้สติลดลง
อวัยวะทุกส่วนทำงานลดลง
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
. ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมอง
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
เมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก
ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ความคิดและการรับรู้บกพร่อง
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
เซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
สมาธิไม่ดี แก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
วงจรการนอนหลับ
บุคคลทั่วไปต้องการนอนหลับวันละ 7 ชั่วโมง
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาที
ได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
สภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก
เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง
ยังไม่มีการฝัน
จะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
คลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง
ความมีสติรู้ตัวจะหายไป
การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง
ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ใช้เวลา 30 - 50 นาที
อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้
อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง
ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep: REM)
กล้ามเนื้อต่างๆของร่างกายแทบจะหยุดการทำงาน
ยกเว้น
ระบบการทำงานของหัวใจ
กระบังลมเพื่อการหายใจ
สมองจะยังตื่นตัวอยู่
ช่วยจัดระบบความจำ
จำเรื่องบางเรื่องได้นานขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ
ปัจจัยภายนอก
เสียง อุณหภูมิ แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร ยา
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ
การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
ความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
นอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น
ปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาตึงเครียดในชีวิต
อาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
นอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรค
โรคของการนอนหลับโดยตรง
Hypersomnia
ง่วงนอนมากกว่าปกติ
การหลับที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถฝืนได้
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น
หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
กลุ่มอื่น ๆ
นอนกัดฟัน (sleep bruxism)
ปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis)
การกรน (primary snoring)
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
เมื่อยล้า คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก เวียนศีรษะ
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด
เครื่องอำนวยความสะดวก
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้
อุณหภูมิ เสียง
กลิ่น
กลิ่นหอม
กลิ่นสะอาด และสดชื่น
กลิ่นเหม็น
เหงื่อ อุจจาระ ปัสสาวะ หนอง เลือด และอาเจียน
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว
มิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น
ความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position)
ท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน
Fowler’s position
ท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
คล้ายท่านั่งบนเตียง
Prone position
ท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย
Lateral position
ท่านอนตะแคง
Sitting position
เป็นท่านั่งที่สุขสบายสำหรับผู้ป่วย
ได้เปลี่ยนอิริยาบถ
การทำเตียง
การทำเตียงว่าง (Close bed)
จุดประสงค์
จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย
ให้หอผู้ป่วยเป็นระเบียบ เรียบร้อย สวยงามน่าอยู่พักอาศัย
จัดเตรียมความพร้อมเตรียมรับผู้ป่วยใหม่
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้
(Occupied bed)
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ ether/anesthetic bed)
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากไปรับการผ่าตัด
หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยสำลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)