Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสรมิสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสรมิสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
สุขอนามัย (Hygiene)
หมายถึง หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและ การปูองกันโรค โดยการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
คือ การดูแลตนเอง เช่น การอาบน้ า การขับถ่าย ปัสาวะ อุจจาระ การดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย การแต่งตัว สวมใส่เสื้อผ้า การออกก าลัง และ การพักผ่อนนอนหลับ ซึ่งขึ้นอยู่กับุคคลในการตัดสินใจ
การส่งเสริมสุขอนามัย จึงเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง การคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่ง สุขภาพและการปูองกันโรค โดยการดูแลความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขภาพตนเองเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทำความสะอาดร่างกาย ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
เพศ เช่น เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ และไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชายความต้องการการดูแลสุขอนามัยส่วน บุคคล อาจต้องการความนุ่มนวล ละเอียดอ่อน
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวย ทางสุขภาพจิต ท าให้ขาดความสนใจ
การศึกษา บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา ความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทราบถึงประโยชน์ และโทษของการดูแลสุขอนามัย ส่วนบุคคล
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ผม ปาก ฟัน และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
อาชีพ บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ ความส าคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
ถิ่นที่อยู่ การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน เช่น การดำเนินชีวิตในเขตเมือง และเขตชนบท
ภาวะเจ็บปุวย ในภาวะการเจ็บปุวย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง เช่น โรคหัวใจ ระยะที่ร่างกายอ่อนเพลีย
1 more item...
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care) เป็นหน้าที่ความ รับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก ที่ให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ป่วย
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า ที่จะให้การพยาบาลภายหลังผู้ปุวยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย เป็นการพยาบาลเพื่อดูแล สุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care) เป็นหน้าที่ของ พยาบาลเวรเช้า หากท ากิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น. หากทำในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็น หน้าที่ของเวรบ่ายในการดูแลท าความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า เป็นต้น
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอน การจัดท่าให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน อย่างสุขสบาย
การพยาบาลเมื่อจ าเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care) พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24 ชั่วโมง
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้้ำ (Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
เป็นการช่วยเหลือพาผู้ป่วยไปทำความสะอาดร่างกายในห้องน้ำ
การอาบน้ าผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath) เป็นการ ทำความสะอาดร่างกายผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath) เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ำเช็ดตัวให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด หรือผู้ป่วยที่จำกัดการเคลื่อนไหวบนเตียง
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
การดูแลทำความสะอาดปากและฟัน (Mouth care) เป็นความสะอาดพื้นฐาน ทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
การดูแลความสะอาดของเล็บ
การดูแลความสะอาดของเล็บ (Nail care) เล็บเป็นโครงสร้างจากโปรตีน ซึ่งจะงอกยาวตามเวลา จึงต้องทำการตัดให้สั้นตามเหมาะสมกับการใช้งาน
การดูแลความสะอาดของตา
การดูแลความสะอาดของตา (Eye care) เป็นการทำความสะอาดตา รวมทั้ง การกระทำเพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
การดูแลทำความสะอาดของหู
การดูแลท าความสะอาดหู (Ear care) หูเป็นอวัยวะรับรู้สึกที่เกี่ยวกับการได้ ยินและการทรงตัว โดยปกติคนทั่วไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบ หู หลังสระผมมักจะมีน้ำเปียกในช่องหูใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้ง
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
การทำความสะอาดจมูก (Nose care) เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่คาสายไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ เป็นการทำความสะอาดเส้น ผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทำเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย (Perineal care of male) เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และ บริเวณทวารหนัก ปกติจะช าระให้วันละ 1-2 ครั้ง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง (Perineal care of female) เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะช าระให้วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ เรียก สั้น ว่า P-care หรือ flushing
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจ เกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องงเนื่องจากเป็นอัมพาต
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
พยาบาลวางแผนการดูแลความสะอาดร่างกายโดยใช้ข้อมูลจากการ ประเมินผู้ป่วย
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการ พยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความ ปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อนนอนหลับที่ดีมีคุณภาพ และเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เป็นพฤติกรรม สุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีทุก วัน เพื่อสร้างความสุขของชีวิตให้มี การพักผ่อน และการนอนหลับอย่างมีความสุข
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำ กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ โดยมีการสร้างและสะสมพลังงาน ในขณะหลับ เวลาที่หลับสนิทในช่วงแรกในสามส่วนของการหลับทั้งคืนนั้น
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วย สะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ เนื่องจากการนอนหลับในระยะ (Rapid eye movement sleep: REM) จะมีการทำงานของระบบประสาทเต็มที่ มีการกระตุ้นให้ความจำระยะสั้น เป็นความจำระยะยาวได้
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย โดยศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายอยู่ใต้สมองส่วน ไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าทำหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย ท าให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่น อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน (vertigo) ความทนต่อ ความเจ็บปวดลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ความคิดและการรับรู้บกพร่อง
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ ท าให้มีการเปลี่ยนแปลงของ อารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย เกิดความสับสนและความสามารถในการ ควบคุมตนเองจาก
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้ เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอท า ให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทาง สังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลง และมีการ ใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
(Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่
ระยะที่ 2 (หลับตื้น) การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวน จากภายนอก
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง) ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติ รู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง
ระยะที่ 4 (หลับลึก) เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับ
ช่วงหลับฝัน
(Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการ หายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้แบบแผนการนอนหลับ เปลี่ยนแปลง
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบ แผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด พบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอน หลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ จากสายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม ท่านอนของผู้ปุวยที่นอนหลับไม่ เพียงพอ มักเป็นท่านอนหงาย หรือนอนในท่าที่หลัง และไหล่เหยียดตรงเป็นเวลานาน
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่ว ร่างกาย (general anesthesia) หรือการได้รับยาชาเฉพาะที่ (local anesthesia) โดยมักพบใน ผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ภาวะไข้หลังผ่าตัด การมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัดเป็นปฏิกิริยา
การตอบสนองของร่างกาย จะมีไข้ต่ำหลังการผ่าตัด 3-4 วัน
ความวิตกกังวล
มักเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกาย และจิตใจ ได้แก่ ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล การสูญเสียบทบาทหน้าที่ทางครอบครัวและ สังคม การไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมือนปกติ
ปัจจัยภายนอก
เสียง เสียงเป็นปัจจัยส าคัญที่เกิดขึ้นในขณะนอนใน โรงพยาบาล แหล่งของเสียงรบกวนพบบ่อยที่สุด
อุณหภูมิ อุณหภูมิที่ต่ำหรือสูงเกินไป จะทำให้ผู้ป่วย กระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
แสง แสงเป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ โดยส่งผลต่อระยะการ เริ่มต้นของการนอนหลับ
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
การเปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
กิจกรรมการรักษาพยาบาล กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่ผู้ป่วย ได้รับตามเวลา ได้แก่ การทำหัตถการต่าง
อาหาร การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan) ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ
ยา ยาที่รบกวนการนอนหลับ ได้แก่ ยาบาบิทูเรต (barbiturates) โดยยาจะไปออกฤทธิ์รบกวนการนอนหลับในระยะ REM เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia) เป็น การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาตึงเครียดในชีวิต
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia) เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia) เป็น การนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่ง จะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ
เช่น หลับขณะขับรถยนต์ หรือรอรถติดไปแดง
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder) ได้แก่ อาการ สับสน (confusion arousals)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ ได้แก่ อาการขากระตุกขณะกำลังหลับ (hypnic jerks)
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ได้แก่ ภาวะฝัน ร้าย (nightmares) ภาวะผีอ า (sleep paralysis) เป็นต้น
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน (sleep bruxism) การปัสสาวะรด ที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis) การกรน (primary snoring)
การจัดสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิ่งที่จ าเป็นและส าคัญยิ่งส าหรับผู้ปุวยที่เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลเพราะช่วยให้ผู้ปุวยสุขสบาย พักผ่อนได้ และหายจากโรคเร็วขึ้น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
การจัดท่าทาง เป็นการ เปลี่ยนอิริยาบถของผู้ปุวยเพื่อส่งเสริมความสุข สบาย เมื่อนอนอยู่บนเตยง หรือลุกออกจากเตียง
การทำเตียง
เป็นการส่งเสริมการพักผ่อนกลการนอนหลับให้มี ความสุข มีคุณภาพการนอนหลับที่ดี พยาบาลต้องดูแลจัดความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยให้ผู้ป่วย นอนหลับได้อย่างมีความสุขตลอด