Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
เป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกๆวัน
เพื่อสร้างความมั่นใจในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
พยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บปุวยนั้น
พยาบาลจึงจ าเป็นต้องรู้และเข้าใจถึงหลักการและเทคนิคปฏิบัติการพยาบาล เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ปุวยไม่สุขสบาย
ส่งเสริมให้ผู้ปุวยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ความหมาย
สุขอนามัย (Hygiene)
หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพ
การปูองกันโรค โดยการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene)
การดูแลตนเอง เช่น การอาบน้ า การขับถ่าย
ปัสาวะ อุจจาระ
การดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย การแต่งตัว สวมใส่เสื้อผ้า การออกกำลัง และการพักผ่อนนอนหลับ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
อายุยังเป็นตัวกำหนดกายวิภาคและสรีระของร่างกายแต่ละคน
พยาบาลจึงควรคำนึงถึงในการให้การพยาบาลด้วย
เพศ
ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
เพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ และไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชายความต้องการการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ภาวะสุขภาพ
เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บป่วย
ทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใจ
ระบบประสาทกล้ามเนื้อท างานได้ไม่ดี ท าให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงหรือไม่ได้ปกติ
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา
ความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ความรู้เพียงอย่างเดียวยังไม่พอเพียง ผู้ปุวยต้องมีแรงจูงใจที่จะดูแลตนเอง เรียนรู้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลให้ดีขึ้นได้
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ผม ปาก ฟัน
และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
หากเศรษฐกิจไม่พอเพียง ผู้ปุวยอาจต้องทำงานเพื่อ
หารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตนเอง
อาชีพ
บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้
ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดำเนินชีวิตประจำวัน จึงให้ความใส่ใจต่อการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้เป็นอย่างดี
ถิ่นที่อยู่
การด าเนินชีวิตในเขตเมืองและเขตชนบท
การใช้ชีวิตและมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
ภาวะเจ็บป่วย
ในภาวะการเจ็บป่วย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ภาวะการเจ็บป่วยทางจิต มีอาการซึมเศร้าไม่สนใจดูแลตนเอง
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถพิจารณากระท าได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคำสั่งของแพทย์
การใช้กระบวนการพยาบาลในการจัดกิจกรรมการดูแลสุขอนามัยที่ตรงกับความต้องการของผู้ปุวยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.Mcare)
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care)
การพยาบาลเมื่อจ าเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care)
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐานทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น
ผู้ปุวยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
เมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรงการเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย ท าให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
การดูแลความสะอาดของเล็บ
เล็บเป็นโครงสร้างจากโปรตีน
ต้องทำการตัดให้สั้นตามเหมาะสมกับการใช้งาน
นอกจากการทำความสะอาดเล็บและตัดให้เรียบร้อยยังเป็นการช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดีอีกด้วย
การดูแลความสะอาดของตา
เป็นการทำความสะอาดตา รวมทั้งการกระทำเพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
การท ำความสะอาดตาที่มีขี้ตาและการดูแลอนามัยของตาในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
การดูแลทำความสะอาดของหู
คนทั่วไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบ
หู
สำหรับผู้ปุวยที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องดูแลเป็นพิเศษ การหยิบใช้หรือเช็ดท าความสะอาดส่วนประกอบของเครื่องช่วยฟัง
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
การทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ปุวยที่คาสายไว้
สายยางให้อาหาร
สายออกซิเจน
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เป็นการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะ
การกระทำเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ การสระ
ผมให้ผู้ปุวยบนเตียง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย (Perineal care of
male)
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ปกติจะชำระให้วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง (Perineal care of
female)
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก
ปกติจะชำระให้วันละ 1-2 ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ปุวย (Health assessment)
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษา
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
มีความทนในการท ากิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องงเนื่องจากเป็นอัมพาต
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ก าหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย
การอาบน้ำ การนวดหลัง
การทำความปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน (Rest)
การพักกิจกรรมการท างานของร่างกาย
การพักการทำงานของอวัยวะต่าง
เปลี่ยนอิริยาบท หรือชมวิว เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความกังวล
การพักผ่อน (Rest)
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึง
ความไม่วิตกกังวล
การเปลี่ยนอิริยาบถก็เป็นการพักผ่อนสำหรับบางคนได้
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
การพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
การทำกิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง
สามารถทำกิจกรรมประจ าวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการ
ทำงานของร่างกายด้านอื่น
โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
ระดับการรู้สติลดลง
มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
อวัยวะทุกส่วนทำงานลดลง
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
โดยมีการสร้างและสะสมพลังงานในขณะหลับ
ร่างกายจะสังเคราะห์โปรตีนเพิ่มมากขึ้นและเกิดการเผาผลาญกรดไขมันให้เป็นพลังงาน
เซลล์กระดูกและเม็ดเลือดแดง มีการแบ่งตัวเพิ่มขึ้น
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวม
มีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
ขณะนอนหลับพบว่า มีการลดลงของออร์โมนคอร์ติซอล
สงวนพลังงาน
พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่นขณะอยู่เฉย
การสงวนพลังงานโดยสมองจะท างานเพื่อควบคุมอวัยวะส่วนปลายของร่างกายให้ลดการสูญเสียพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
มีการทำงานของระบบประสาทเต็มที่
มีการกระตุ้นให้ความจำระยะสั้นเป็นความจำระยะยาวได้
มีการปรับตัวต่อความเครียดได้ดี
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในร่างกาย จะทำให้ระยะเวลาในการนอนหลับลึกเพิ่มมากขึ้น
อัตราการเผาผลาญลดลงจึงทำให้อุณหภูมิของร่างกายลดลง
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ
ตัดสินใจได้ช้าและรู้สึกว่าตนเองมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นจากสิ่งเร้าได้ง่าย
การหายของแผลหลังผ่าตัดเป็นไปอย่างล่าช้า
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย
เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลง มีอาการหวาดระแวงและหูแว่ว
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง
สมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
มีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด
ระยะนี้ช่วยจัดระบบความจำ ทำให้จำเรื่องบางเรื่องได้นานขึ้น
ระยะนี้นี่เองเป็นระยะที่คนเราจะฝัน แต่ก็จะตื่นง่าย เพราะสมองยังทำงาน
เหมือนระยะที่ 1 ของ NREM
สรีรวิทยาของร่างกายจะมีการขับเหงื่อออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะมีสีเข้มขึ้น แต่มีสิ่งต่อไปนี้ลดลง
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัสกลิ่น และการมองเห็นจะลดลง
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ท าให้แบบแผนการนอนหลับ
เปลี่ยนแปลง
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบ
แผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวดพบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอน
หลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อ
ระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม ท่านอนมีผลต่อคุณภาพการนอนหลับ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่ว
ร่างกาย
ภาวะไข้หลังผ่าตัด การมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัดเป็น
ปฏิกิริยา
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ
ความวิตกกังวลมักเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกาย
และจิตใจ
ปัจจัยภายนอก
เสียง เสียงเป็นปัจจัยสำคัญที่เกิดขึ้นในขณะนอนใน
โรงพยาบาล แหล่งของเสียงรบกวนพบบ่อยที่สุด
อุณหภูมิ อุณหภูมิที่ต่ำหรือสูงเกินไป จะท าให้ผู้ป่วย
กระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
แสง แสงเป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ โดยส่งผลต่อระยะการ
เริ่มต้นของการนอนหลับ
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล การ
เปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
กิจกรรมการรักษาพยาบาล กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่ผู้ปุวย
ได้รับตามเวลา
อาหาร การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan)
ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ ส่วนเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน
ยา ยาที่รบกวนการนอนหลับ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
ซึ่งจะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ผลในภาพรวมจะท าให้การท างานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอำนวยความสะดวก
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิ
เสียง แหล่งก าเนิดเสียงจากภายนอกห้อง
กลิ่น
แสงสว่าง สภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป
แสงสว่างที่ดีที่สุดควรเป็นแสงธรรมชาติ
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal positionท่านอนหงายราบ
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยน
อิริยาบถ
การทำเตียง
เป็นการส่งเสริมการพักผ่อนกลการนอนหลับให้มี
ความสุข
มีคุณภาพการนอนหลับที่ดี
การท าเตียง มี 4 ชนิด
การทำเตียงว่าง (Close bed)
เป็นการทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย
เพื่อเตรียมรับผู้ปุวยใหม่ หรือทำตียงที่ผู้ปุวยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
ป็นการทำเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้
ไม่จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา ช่วยเหลือตนเองได้ดี
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
ป็นการท าเตียงให้ผู้ปุวยที่ไม่สามารถลุกจากเตียงได้ จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ หรือได้ต้องพึ่งผู้อื่นในการทำกิจกรรม
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/
ether/anesthetic bed)
เป็นการทำเตียงหลังจากส่งผู้ปุวยไปรับการผ่าตัดหรือการตรวจและได้รับยาสลบ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
S: “นอนไม่หลับมา 3 วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตัวตื่น ”
O: จากการตรวจร่างกาย พบ ท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น ขอบตาทั้งสองข้างเขียว เหมือนคนอดนอนมาหลายวัน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ๆ
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม
ไม่ให้ดื่มน้ำหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
ให้มีกิจกรรมทำในตอนกลางวัน
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจ
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น ผู้ป่วยบอกว่า “นอนหลับสบายดีนอนหลับเต็มอิ่ม”
พยาบาลสังเกตว่าผู้ป่วยนอนหลับได้มากขึ้น
และไม่แสดงอาการอ่อนเพลีย