Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ความหมาย
การพักผ่อน (Rest) หมายถึง ผ่อนคลาย และมีความสงบท้ังจิตใจและร่างกาย รวมถึง ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักผ่อน (Rest) หมายถึง การพักกิจกรรมการทางานของร่างกาย หรือการพักการ ทำงานของอวัยวะต่าง โดยนั่งเฉย ชั่วขณะหนึ่งอาจทำกิจกรรมเบา
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
ห้ามลุกออกจากเตียง
Bed rest
ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง
สามารถทำ กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการ ทำงานของร่างกายด้านอื่น
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่าง ของร่างกายไปในทางผ่อน คลาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก
ท้องผูก
ความทนต่อ ความเจ็บปวดลดลง
กล้ามเน้ือคออ่อนแรง
ความคิดและการรับรู้บกพร่อง
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ อารมณ์ได้ง่าย
อาการเซื่อมซึมและหงุดหงิด
โมโหง่าย
เกิดความสับสนและความสามารถในการ ควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลง
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
นอนหลับไม่เพียงพอทำ ให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง
สมาธิไม่ดี
แก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
มีการ ใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ ในผู้สูงอายุการนอนหลับจะ ลดลงท้ังปริมาณและคุณภาพ
เพศ เพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบ แผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด พบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอน
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อ
ระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม ท่านอนมีผลต่อคุณภาพการนอนหลับ
ความวิตกกังวลสูงและความปวดอาจเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน จะส่งผล กระทบต่อการนอนหลับได้
ภาวะไข้หลังผ่าตัด ทำให้เกิดความไม่สุข
สบาย และนอนไม่หลับได้
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ
ความวิตกกังวลมักเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกาย และจิตใจ
เมื่อมีความวิตกกังวล ส่งผลให้ร่างกายหลั่งสาร corticosteroid และadrenaline ซึ่งไปกระตุ้นการทำงานของsympathetic system ทำให้ร่างกาย ตื่นตัวตลอดเวลา
ปัจจัยภายนอก
เสียง
อุณหภูมิ
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
ยา
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ และการนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว เป็นช่วงเวลาสั้นๆ 3- 5 วัน
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้นๆ ระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง นานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก
ง่วงนอนมากกว่าปกติ
การหลับที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถฝืนได้ ซึ่งถือว่า เป็นเรื่องผิดปกติต้องการการตรวจพิเศษเพื่อหาสาเหตุ
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น อาการ สับสน ละเมอเดิน ฝันร้าย
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่นหรือจากตื่นมาหลับ อาการขากระตุกขณะกาลังหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
เมื่อยล้า
คลื่นไส้
อาเจียน
ท้องผูก
เวียนศีรษะ
ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง
ภูมิต้านทานลดลง ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง
การรับรู้บกพร่อง
ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกาย อ่อนล้า และขาดสมาธิ
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การนอนหลับ เป็นพฤติกรรมพื้นฐานเพื่อก่อให้เกิดความสมดุลของร่างกายและจิตใจ ในการดำรงชีวิต
ความสำคัญ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อข้ึนใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
วงจรการนอนหลับ
วงจรการ นอนหลับปกติ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่การนอน
ใช้เวลาต้ังแต่ 30 วินาที - 7 นาที
ได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็ จะตื่น
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น
เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวน จากภายนอก
เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง
ความมีสติ รู้ตัวจะหายไป
การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง แม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย
ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน
ใช้เวลา 30 - 50 นาที
หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4 นี้ อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้าย
ระยะนี้ อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง
อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี้
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อ ต่างๆของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด
ระยะนี้ช่วยจัดระบบความจำ ทำให้จำ เรื่องบางเรื่องได้นานขึ้น
ระยะนี้นี่เองเป็นระยะที่คนเราจะฝัน แต่ก็จะตื่นง่าย เพราะสมองยังทำงาน
เวลาประมาณ 30 นาที
สรีรวิทยาของร่างกายขณะหลับ
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่าเสมอ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง ตากอกข้ึนหรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว และ
ปริมาณปัสสาวะลดลง
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอำนวยความสะดวก
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศา
เซลเซียส มีการถ่ายเทระบายอากาศดี
เสียง แหล่งกำเนิดเสียงจากภายนอกห้องหรือเกิดจากผู้ให้บริการ หรือ จากญาติที่มาเยี่ยมไข้
กลิ่น
กลิ่นหอม กลิ่นทเี่หมาะสาหรับการสร้างความสุขคือกลิ่นสะอาดและสดชื่น
กลิ่นเหม็น ได้แก่ กลิ่นที่ส่งออกมาจากสิ่งขับถ่ายภายในร่างกายของคน
แสงสว่าง สภาพแวดล้อมที่ดีต้องไม่มืดสลัวหรือสว่างจ้าจนเกินไป
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขา ชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Prone position เป็นท่านอนคว่า
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Sitting position เป็นท่านั่ง
การทำเตียง
มี 4 ชนิด
การทำเตียงว่าง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
หลักปฏิบัติการทาเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามลาดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและสม่าเสมอ
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การทำความสะอาดร่างกาย ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ความสุขสบายทั้งทางร่างกาย และจิตใจจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความสุขกายสุขใจ
สุขอนามัย (Hygiene) หมายถึง หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personal hygiene) คือ การดูแลตนเอง
การส่งเสริมสุขอนามัย จึงเป็นการ การคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่ง สุขภาพและการป้องกันโรค
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่าง กัน
เพศ ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลท่ีแตกต่างกัน
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บป่วยทางสุขภาพจิต ทำให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง หรือไม่ได้ปกติ
การศึกษา บุคคลท่ีมีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา ความสะอาดของร่างกายและส่ิงแวดล้อม
เศรษฐกิจ หากเศรษฐกิจไม่พอเพียง ผู้ป่วยอาจต้องทำงานเพื่อ หารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตนเอง
อาชีพ บุคคลที่มีอาชีพเก่ียวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ จึงให้ความใส่ใจต่อการ ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้เป็นอย่างดี
ถิ่นที่อยู่ การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นท่ีอยู่ท่ีแตกต่างกัน ส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล มีความแตกต่างกันอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
ภาวะเจ็บป่วย ในภาวะการเจ็บป่วย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ส่ิงแวดล้อม อากาศร้อนทำให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวท่ีต้องได้รับ การดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากข้ึน
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล จะเป็นผล ต่อการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนบุคคล
ความชอบ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแล สุขวิทยา
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลท่ีสามารถ พิจารณากระทำได้ทันทีโดยไม่ต้องมีคำส่ังของแพทย์
พยาบาลจะให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของผู้ป่วยในเรื่องความสะอาด ของร่างกาย ความสุขสบาย
หากผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้พยาบาลจะให้ความช่วยเหลืออำนวยความสะดวก
ช่วงเวลาในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
การพยาบาลตอนเช้า
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
การพยาบาลตอนก่อนนอน
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
การดูแลทำความสะอาดปากและฟัน (Mouth care) เป็นความสะอาดพื้นฐาน ทาให้ลมหายใจหอมสดช่ืน
เมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรง การเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย ทำให้รับประทานอาหารได้มากข้ึน
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กาจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดช่ืน ปูองกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การทำความสะอาด เล็บและตัดให้เรียบร้อยยังเป็นการช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดี
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
การดูแลความสะอาดของตา
การดูแลความสะอาดของตา (Eye care) เป็นการทำความสะอาดตา รวมท้ัง การกระทำ เพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
การทำความสะอาดตาท่ีมีขี้ตา และการดูแลอนามัยของตาในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตาให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดของหู
คนท่ัวไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบ หู
หลังสระผมมักจะมีน้ำเปียกในช่องหูใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้ง
การเช็ดทำความสะอาดช่องหูหลัง อาบน้ำควรใช้ไม้พันสาลีเช็ดทำความสะอาดในช่องหูทั้ง 2 ข้าง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
การทำความสะอาดจมูก (Nose care) เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพ ของเน้ือเยื่อจมูก
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยท่ีคาสายไว้ เช่น สายยางให้อาหาร สายออกซิเจน
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับท่ีด้านในรูจมูกจากสายท่ีคาไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
การทำความสะอาดเส้น ผมและหนังศีรษะรวมท้ังการ
กระทำเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะ
หมายถึง การสระผมให้ผู้ป่วยบนเตียง (shampoo in bed)
วัตถุประสงค์
ขจัดความสกปรกและสารท่ีใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดช่ืนของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของผู้ชาย
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ปกติจะชำระให้วันละ 1-2 คร้ัง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ เรียกสั้นๆ ว่า P-care หรือ flushing)
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอกของผู้หญิง
การทำความสะอาดเหมือนกับเพศชาย
จุดประสงค์
กาจัดส่ิงขับถ่าย ส่ิงสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับ การสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล