Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ - Coggle Diagram
บทที่ 2 ยาที่ใช้ในระบบประสาทอัติโนมัติ
การทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ
1.ระบบประสาทซิมพาเทติก
2.ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
สารสื่อประสาท(neurotransmitter)และตัวรับ(Receptor)ในระบบประสาทอัตโนมัติ
1.สารสื่อประสาทในระบบประสาทซิมพาเทติก(Adrenergic agents)
⍺1 พบที่กล้ามเนื้อเรียบ ตอบสนองแบบหดตัว
⍺2 พบที่ปลายประสาทซิมพาเทติก
β1 พบที่หัวใจ
β2 พบที่กล้ามเนื้อเรียบ กระตุ้นการคลายตัว
β3 พบที่เซลล์ไขมัน
2.สารสื่อประสาทในระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(Cholinergic agents
1.Nicotinic receptor พบที่ปมประสาท
2.Muscarinic receptor
M1 พบที่สมอง
M2 พบที่หัวใจ
M3 พบได้ตามต่อมมีท่อต่าง ๆ
M4 พบที่ระบบประสาท
M5 พบที่ Dopamine neuron
3.สารสื่อระบบประสาทในระบบโซมาติก
ยาที่ออกฤทธ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัต
2.ยาต้านมัสคารินิค (Antimuscarinic drugs) ยับยั้งพาราซิมพาเทติก
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบทางเดินอาหาร ลดการบีบตัวของหลอดอาหารจนถึงลำไส้ใหญ่
ระบบตา ม่านตาขยาย(mydriasis)มองภาพไม่ชัด ความดันในลูกตาสูง ตาแห้ง อันตรายต่อต้อหิน
ระบบทางเดินหายใจ ขยายหลอดลม ยับยั้งการหลั่งของสารคัดหลั่ง ในทางเดินหายใจ
กล้ามเนื้อเรียบอื่นๆ ลดความตึงตัวของท่อปัสสาวะทำให้ปัสสาวะลำบาก
ต่อมเหงื่อ ขับเหงื่อได้น้อยลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็วหลอดเลือดใต้ผิวหนังขยายตัว
ทางคลินิก
Antispasmodics ยาลดการหดเกรงของกล้ามเนื้อ
ยาขยายหลอดลม ผุ้ป่วย COPD และโรคหืด
อาการข้างเคียง
Dry mouth ปากแห้งคอแห้ง
Dry stools ห้องผูก
Dilated pupils-blurred vision ตาพร่ามัว
Dilated bladder-urinary retention ปัสสาวะคั่ง
1.ยาโคลิเนอร์จิค (Cholinergic drugs) กระตุ้นพาราซิมพาเทติก
1.1.Cholinergic agonist
(Ach)ออกฤทธิ์กระจายมาก ออกฤทธิ์สั้น ถูกทำลายด้วย AChE อย่างรวดเร็ว
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ระบบไหลเวียนเลือด ลดการต้านทานหลอดเลือดส่วนปลาย ขยายตัว ลดความดันโลหิต ลดการเต้นของหัวใจ
ระบบหายใจ ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมหดตัว ต่อมในหลอดลม หลั่งสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะหดตัว
ระบบทางเดินอาหาร เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่ง กรดในกระเพาะอาหาร
ฤทธิ์ต่อตา ทำให้ม่านตาหรี่
ระบบประสาทส่วนกลาง สารมีฤทธิ์กระตุ้นสมองส่วน cortex
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษาระบบทางเดินปัสสาวะ Bethanechol
ใช้รักษาต้อหิน ยา Pilocarpine
อาการข้างเคียง
salivation น้ำลาย น้ำมูก เหงื่อออกมาก
Lacrimation ระคายเคืองตา
Urination ปวดปัสสาวะบ่อย
Defecation ปวดมวนท้อง อาเจียน
ข้อต้องห้าม
Asthma/COPD ทำให้หลอดลมหดตัว
Peptic ulcer ยากระตุ้นการหลั่งกรด น้ำย่อยมากขึ้น
ผู้ป่วยลำไส้อุดตัน
1.2.Anticholinesterase agent
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ (AChE)/(ChE)ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ทำลาย Ach ผลทำให้ Ach จึงไปกระตุ้น cholinergic receptors อย่างมากทั้ง centrsl และ peripheral nervous system
การจับกับเอนไซม์ชั่วคราวกลุ่ม reversible
การจับกับเอนไซต์ถาวรกลุ่ม irreversible
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลอาจรุนแรงเนื่องจากมีผลทั่วร่างกาย (systemic effect) ผลต่อระบบไหลเวียนอาจทำให้หัวใจเต้นช้าลด cardiac output ความดันโลหิตลดลง
อาการข้างเคียงและความเป็นพิษ
Diarrhea
Sweating
อื่นๆ
3.ยากระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก (Adrener drugs)
กลไกการออกฤทธิ์
Directly acting druds
Indirectly acting drugs
Mixed-acting drugs
ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ผลต่อกล้ามเนื้อเรียบ การคลายตัวของกล้ามเนื้อหลอดลม
ผลกระตุ้นหัวใจ เพิ่มอัตราการเต้นกล้ามเนื้อหัวใจ
เมแทบอลิซึม ผลต่อตับ เพิ่มสลาย glycogen และ สร้าง glucose จาก lipid
ระบบต่อมไร้ท่อ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด
ระบบไหลเวียนเลือด vasoconstriction
ระบบประสาทส่วนกลาง ตื่นตัวและลดความอยากอาหาร
ผลต่อตา รูม่านตาขยาย
อาการข้างเคียง
Catecholamines ได้แก่ Epinephrine,(NE),(DA),Dobutamine
ระบบประสาท
วิตกกังวล
อาการสั่น
ระบบไหลเวียน
ปอดบวมน้ำ
เจ็บหน้าอก
Tissue necrosis
vasoconstriction
Norepinephrine
Alpha-1 agonist มีฤทธิ์เฉพาะเจาะจงที่ ⍺1-adrenergic receptor ทำมห้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดหดตัว
ยาออกฤทธิ์ที่ Alpha-2 agonist ที่สมองและหลอดเลือด ลดการหดตัว ทำให้ความดันโลหิตลดลง
Beta-adrenergic agonist ใช้เป็นยาขยายหลอดลม
หัวใจเต้นเร็ว
ใจสั่น
กระวนกระวาย
Indirect-acting and mixed-type adrenergic agonist
Ephedrine& pseudoephedrine ใช้เป็นยาลดน้ำมูกและคัดจมูก
Amphetamine เปผ้นยาเสพติดให้โทษประเภทท่ี 1 ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลางที่มีความแรงสูง
ประโยชน์ทางคลินิก
Shock
Glaucoma
Cardiac arrest
4.ยาปิดกั้นอะดรีเนอร์จิครีเซพเตอร์ (Adrenoceptor blocking drugs)ยับยั้งซิมพาเทติก
⍺-blocker
Prazosin,Doxazosin รักษาโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคต๋อมลูกหมากโตร่วมด้วย
β-blocker
Non-selective β-blocker (β1,β2) ได้แก่ Propranolol,Timolol,Sotalol
Selective β1-blocker ได้แก่ MetoprololและAtenolol ห้ามใช้ HR<45ครั้ง/นาที
อาการข้างเคียง
ทำให้หัวใจเต้นช้า
หลอดลมตีบแคบ