Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม 🇰🇷🇹🇭🇨🇭🏥💉👩🏻🔬🩺, นางสาวพลินี…
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
🇰🇷🇹🇭🇨🇭🏥💉👩🏻🔬🩺
2. คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
อธิบาย
ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้
และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม
2.1 ประเภทของความเชื่อ
1) ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
เช่น เชื่อว่าพระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก
2) ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล มี 2 ลักษณะ
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการ
แลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค
4) ความเชื่อแบบเป็นทางการ
หลักคำสอนในพระพุทธศาสนาเรื่องการมีสติ
การบำเพ็ญเพียร
ความ
ไม่ประมาท
การบำเพ็ญเพียร
ความเชื่อเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร 5 หม
การบริโภคนมแม
3) ความเชื่อแบบประเพณี
ในภาคเหนือเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับผีและอำนาจเหนือธรรมชาติเกี่ยวกับป่า
ภูเขาและลำน้ำ
ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระธาตุและผีวีรบุรุษ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
2) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์
ทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
1) ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้
การเรียนรู้
3) ปัจจัยทางด้านบุคคล
ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือ ธรรมชาติ
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่าน สถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะตั้งครรภ์, ระยะคลอดบุตร, ระยะหลังคลอด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
แบบตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
2.2 ค่านิยมทางสังคม
ค่านิยมทางสังคมคือสิ่งที่เราเชื่อว่าสำคัญหรือมีคุณค่าในชีวิต
อันจะนำไปสู่การมีแบบ
แผนการกระทำหรือพฤติกรรม
ปัจจัยทางสังคม
1) ครอบครัว
อันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล
2) โรงเรียน
3) สถาบันศาสนา
บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ ก็มีส่วนช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและศีลธรรม
อันถูกต้องได้เป็นอย่างด
4) สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การเรียนรู้และการยอมรับค่านิยมจากกิจกรรมเหล่านั้น
6) องค์การของรัฐบาล
5) สื่อมวลชน
1. ความหมายของวัฒนธรรม
อธิบาย
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา
เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไป
ได้ในสังคมของตน
“culture”
รากศัพท์มาจากมาจากภาษาละติน "cultura animi"
ในศตวรรษที่ 17 คําว่า “Culture” ถูกนํามาใช้เพื่อ อธิบายความเจริญงอกงาม
ของปัจเจก โดยเฉพาะในประเด็นการศึกษา
ศตวรรษที่ 18 และ 19 คําว่า “Culture” จึงถูก
นําไปใช้เพื่อสื่อความหมายถึงผู้คนในลักษณะเป็นกลุ่มคน สังคม หรือ เป็นชาติ
"cultura”
ซึ่งแปลว่า การ เพาะปลูก
และบํารุงให้เจริญงอกงาม (cultivation)
“วัฒนธรรม”
ในประเทศไทยถูกนํามาใช้อย่างเป็นทางราชการครั้งแรก ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.
พิบูลสงคราม
ยุคการประกาศนโยบายสร้างชาติ หรือ รัฐนิยม6
ต่อมาแก้ไขเป็น
พระราชบัญญัติวัฒนธรรม แห่งชาติ พุทธศักราช 2485
มีสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ
เพื่อที่จะกําหนดดูแล
ในเรื่องเกี่ยวกับ วัฒนธรรม
ข้อกําหนดในเรื่องการแต่งกาย
การสวมหมวก
สวมรองเท้า
การห้าม
อาบน้ำในที่สาธารณะ
การเลิกกินหมากพล
โดยสรุป
วัฒนธรรม (Culture)
หมายถึงวิถีการดำเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของ
วัฒนธรรม
4) วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
5) วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
2) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
6) วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
1) วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas) และค่านิยมทางสังคม
3) วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
ทางสังคมวิทยาได้จำแนกวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
1) วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
2) วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
1.1 องค์ประกอบของวัฒนธรรม
2) องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
วัฒนธรรมในส่วนของการ
จัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
3) องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony
วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการ
ต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
1) องค์วัตถุ (Material)
วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได
4) องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และ
อุดมการณ์ต่างๆ
1.2 ความสำคัญของวัฒนธรรม
4) ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของ การ
ดำรงชีวิต
5) ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
3) ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
6) ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
2) การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็น
และความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
7) ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
1) วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม และเป็นเครื่องกำหนดชีวิต
ความเป็นอยู่ของคนในสังคม
3. วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาประชาชนในภูมิภาคต่างๆ ของโลก
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ปัจจัยสำคัญที่นำมาซึ่งแนวคิดด้านสุขภาพได้ให้ความสำคัญกับปัจจัย
ทางด้านสังคมวัฒนธรรม
เนื่องจากพบว่าปัญหาสุขภาพบางประเภทเกิดกับบุคคลบางอาชีพ บางวัฒนธรรมหรือ
บางกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่ากลุ่มอื่นๆ
ในช่วงศตวรรษที่ 20-21 ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเกิดขึ้น
และดำเนินไปอย่างรวดเร็ว กว้างขวาง และพ้นพรมแดน
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมขึ้น ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้คนในสังคมโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
แต่ละทวีป แต่ละศาสนา ได้ถูกเชื่อมต่อกันผ่านระบบคมนาคมและการสื่อสารที่ก้าวหน้าทันสมัยและรวดเร็ว ทำให้
เนื่องจากสภาพสังคมวัฒนธรรมของแต่ละเชื้อชาติ
3.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแล
สุขภาพตัวเอง
การดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ไปจนถึงการดูแลสุขภาพที่อาศัยความรู้วิทยาการหรือเทคโนโลยีทาง
การแพทย์สมัยใหม
การดูแลสุขภาพทั้ง 4 มิติ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
3.2 ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
1) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารจาก
ธรรมชาต
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
2) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
จัดแบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
2) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
เช่น ห้ามหญิงมีครรภ์กินกล้วยแผด
3) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
เช่น สังคมแอฟริกันบางสังคมให้เด็กกินดินหรือ
โคลน
1) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
เช่น การให้ทารกกินนมแม่นานถึง 2 ปี
4) ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
เช่น การรับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
หลัก 5 ประการ โดย ใช้หลัก ASKED
S = Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill)
K = Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural knowledge)
A =Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
E = Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter
D = Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire)
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพของประชาชน
2) ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
ดูแลแบบทางเลือก เป็นการ
ปฏิบัติการรักษาที่มิใช่รูปแบบของวิชาชีพ
3) ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
ถูกปลูกฝังถ่ายทอดกันมาตามวัฒนธรรม
1) ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)
เป็นส่วนของการปฏิบัติการ
รักษาพยาบาลทางการแพทย์ มีการจัดองค์กรที่เป็นทางการ
นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378
✨🧸🥰👩🏻⚕️