Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชวิทยา บทที่3 เภสัชพลศาสตร์ - Coggle Diagram
เภสัชวิทยา
บทที่3 เภสัชพลศาสตร์
เภสัชพลศาสตร์ หมายถึง การออกฤทธิ์ของยาต่อร่างกาย หรือการที่ยามีผลต่อร่างกาย
กลไกการออกฤทธิ์
ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ไม่จำเพาะเจาะจง
ยาที่มีตำแหน่งออกฤทธิ์ที่เฉพาะเจาะจง ยาส่วนใหญ่มากกว่า90%
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับ (RECEPTOR-MEDIACTION)
Receptorคือ โมเลกุลหรือโครงสร้างที่ทำหน้าที่จับกับยาแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะตัวรับ
•ENZYME EX. HMGCOA REDUTASE -> STATIN DRUG
•TRANSPORT PROTEIN EX. NA+/K+ ATPASE-DIGITALS
•SPECIFIC ต่อสารสื่อหรือยาที่มีโครงสร้างเฉพาะ
มีAFFINTY ต่อสารสื่อต่อยาสูง
ความแตกต่างNON-SPECIFICALLY ACTING DRUGSและSPECIFICALLY ACTING DRUGS
ความแรง(POTENCY)หรือBIOLOGICAL SPECIFICIT
2.CHEMICAL SPECIFICITY การเปลี่ยนแปลงสูตรโครงสร้างของยา
3.การต้านฤทธิ์โดยANTAGONIST
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา(DRUG INTERACTION)
มีลักษณะสำคัญ 4 แบบ ได้แก่
1.ปฏิกิริยาต่อกันของยาในลักษณะเพิ่มฤทธิ์
-การให้ amitriptyline
-การใช้ยาต้านจุลชีพกลุ่มamionglycosides
2.ปฏิกิริยาต่อกันของยาแบบต้านฤทธิ์กัน
-การใช้ยาต้านการใช้ตัวของเลือด
ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกลไกในการขนส่งยา ยาบางชนิดอาจถูกขัดขวางกระบวนการในการขนส่งยา
4.ปฏิกิริยาต่อกันของยาอันเนื่องมาจากการรบกวนสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์
อาการไม่พึงประสงค์และพิษของยา
•อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
อาการข้างเคียงจากการใช้ยาหรือSIDE EFFECT
การจำแนกประเภทของ ADR ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
•ADR TYPE A เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลทีของยา สามารถทำนายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• ADR TYPE B เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคน จะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น
พิษของยา
•เกี่ยวข้องกับทางเภสัชวิทยาในระดับที่รุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาที่ใช้ถ้ายังเพิ่มขนาดใช้ยาอาการก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้นๆพิการหรือเสื่อมสภาพไป