Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta Previa) - Coggle Diagram
ภาวะรกเกาะต่ำ
(Placenta Previa)
ความหมาย
ภาวะที่รกเกาะต่ำกว่าปกติ โดยเกาะลงมาถึงบริเวณส่วนล่างของผนังมดลูก (Lower uterine segment)
สาเหตุ
อายุ
อายุเกิน 35 ปี
:check: สตรีตั้งครรภ์อายุ 35 ปี
จำนวนครั้งของการคลอด
(Parity)
จำนวนครั้งยิ่งมากมีโอกาสพบมากขึ้น
ปัจจัยที่ทำให้หล่อเลี้ยงรกเสียไป
อักเสบติดเชื้อ
ขูดมดลูก
สูบบุหรี่ > 20 มวน/วัน
ผ่าท้องคลอดในครรภ์ก่อน
ผ่าตัดคลอด
ผ่าตัดเนื้องอกมดลูก
อื่นๆ
มดลูกรูปร่างผิดปกติ
ครรภ์แฝด
ทารกท่าผิดปกติ/ซีด
ติดเชื้อในครรภ์
พยาธิสรีรภาพ
รกฝังตัวส่วนล่างของมดลูก ซึ่งเป็นบริเวณที่เลือดมาเลี้ยงน้อยกว่ายอดมดลูก ทำให้รกแผ่กว้างกว่าปกติ
เพื่อให้ทารกได้รับสารอาหาร
เมื่อเกิด contractionทำให้ผนังมดลูกส่วนล่างถูกดึงให้ยืดขยายออก แต่ส่วนของรกไม่ได้ยืดขยายตาม เกิดการฉีกขาดของ Deciduasและหลอดเลือด ทำให้มีเลือดออกทางช่องคลอด
อาการ
มีเลือดออกทางช่องคลอดเป็นสีแดงสด
:check: สตรีตั้งครรภ์มีเลือดออกทางช่องคลอด
ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
:check: สตรีตั้งครรภ์ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ส่วนนำของทารกไม่สามารถเข้าสู่อุ้งเชิงกราน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อที่ 2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อคจากการเสียเลือด
เนื่องจากสูญเสียเลือดทางช่องคลอดจากภาวะรกเกาะต่ำ
ข้อที่ 3มารดาและครอบครัววิตกกังวลและกลัวอันตรายจากมีภาวะรกเกาะต่ำและคลอดก่อนกำหนด
ข้อที่ 1 ทารกในครรภ์มีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากมารดามีเลือดออกก่อนคลอด
การพยาบาล
เลือดออกไม่มาก
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวทราบ
และเข้าใจถึงภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้น
ประเมินอาการผิดปกติอย่างใกล้ชิด
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียง
โดยควรนอนตะแคงซ้าย
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
NPOดูแลให้ได้สารน้ำและอาหาร
ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
งด PV/PR/SSE
เจาะเลือดหา Hb/Hct/blood group /เตรียมเลือดทดแทน
ฟัง FHS ทุก 1 ชั่วโมง
ตอบสนองความต้องการ
เลือดออกมาก
absolute bed rest
ช่วยทำกิจวัตรตามความเหมาะสม
ประเมิน Vital sign และอาการแสดงของภาวะช็อค
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมิน FHS
เตรียมผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
อาการดีขึ้นเตรียมD/C
พักผ่อนและจำกัดกิจกรรม
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การนับลูกดิ้น
การงดมีเพศสัมพันธ์
สังเกตอาการผิดปกติ
เตรียมความพร้อมหากพบอาการ
ผิดปกติฉุกเฉินสามารถไปโรงพยาบาลทันที
ฝากครรภ์และปฏิบัติตามคำแนะนำ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ลักษณะ/ปริมาณเลือดที่ออก
อาการเจ็บครรภ์
ตรวจร่างกาย
ตรวจครรภ์
กดไม่เจ็บ :check:
มดลูกนุ่ม :check:
คลำทารกได้ :check:
ฟัง FHS ได้ :check:
การตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง
(Ultrasound)
PV
Double setup
ข้อมุลของสตรีตั้งครรภ์รายนี้
ทำงานเป็นพนักงาน 7-11 ยืนทำงานตลอดทั้งวัน
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลไปทำงานที่ 7-11 เหมือนทุกวันแต่วันนี้ลูกค้าเยอะ
จึงทำให้ต้องเดินทั้งวัน หลังเลิกงานรู้สึกปวดตึงๆหน่วงตรงท้องน้อย แต่ไม่มีอาการเจ็บครรภ์ ลูกดิ้นดี กลับบ้านตอนเย็นรู้สึกอาการปวดตึงท้องลดลง
นอนพักหลับได้ แต่พอตื่นนอนตอนเช้า มีเลือดอออกทางช่องคลอด
เป็นสีแดงสดแต่ไม่มีอาการปวดท้องไม่มีชิ้นเนื้อหลุดออกทางช่องคลอด
สตรีตั้งครรภ์อายุ 35 ปี
G1P0 GA 31 สัปดาห์