Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อน - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อน
การส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
(Afternoon care/P.M. care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า หากทำในช่วงเวลา16.00น.
จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่าย
ดูแลทำความสะอาดปาก ฟัน การล้างมือ
การพยาบาลก่อนนอน
(Evening care/ Hour of sleep care/H.S. care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
ดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ
การพยาบาลตอนเช้า
(Morning care/ A.M care)
ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
ให้บริการหม้อในผู้ป่วยหญิง
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า
การเปลี่ยนผ้าปุที่นอน
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ
(As needed care/ P.r.N. care)
ให้การพยาลตามที่ผู้ป่วยต้องการ 24 ชั่วโมง
พยาบาลช่วยเช็ดตัว การเปลี่ยนเสื้อผ้า
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
( Eaelt morning care)
เมื่อผู้ป่วยตื่นนอนแล้วพยาบาลจะดูแลผู้ป่วย
ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ
การทำความสะอาดร่างกาย
หน้าที่รับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก
การดูแลทำความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของตา
เครื่องใช้
ถาดใส่อับสำลีชุบ0.9%NSS และชามรูปไต
ถุงมือสะอาด และMask
วิธีปฏิบัติ
2.ยกของใช้ไปที่เตียงผู้ป่วย
3.จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงด้านที่ต้องการทำความสะอาด
1แนะนำตัวและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
4.ใส่ถุงมือสะอาด
5.ใช้สำลีชุบ 0.9%NSS พอหมาดฟเช็ดหัวตาไปหางตา
6.พลิกตัวผู้ป่วยตะแคงด้านตรงข้าม และทำความสะอาดตาอีกข้าง
8.เก็บของให้ทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรีบร้อย
7.สังเกตลักษณะและจำแนกจำนวนของขี้ตา
9.ลงบันทึกทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
2.ความสุขสบายของผู้ป่วย
3.ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
1.กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
การดูแลทำความสะอาดหู
จุดประสงค์
2.ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
1.กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
เครื่องใช้
สำลีสะอาด หรือไม้พันสำลี 4 อัน
ผ้าสะอาด ชามรูปไต กระดาษเช็ดปาก
0.9% NSSหรือน้ำสะอาด
วิธีปฏิบัติ
4.สวมถุงมือmask
5.ใช้สำลีชุบ 0.9%NSS หรือน้ำสะอาด เช็ดทำความสะอาดหู
3.จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่านอนหงาย เอียงศีรษะไปด้านใดด้านหนึ่ง
6.เก็บของที่ใช้ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
2.ยกเครื่องใช้ไปที่เตียงของผู้ป่วย
7.ลงบันทึกการพยาบาล
1.แนะนำตัวและอธิบายให้ทราบถึงวัตถุประสงค์
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วิธีการทำความสะอาดปากและ
ฟันผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้
3.ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง
4.ล้างมือและสวมถุงมือ
2.นำเครื่องใช้ที่เตียงผู้ป่วย
5.ปูผ้่กันเปื้อนใต้คาง
1.พยาบาลแนะนำตัว
6.ใช้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด
เครื่องใช้
น้ำยาบ้วนปาก แก้วน้ำ ไม้สำลี ชามรูปไต
ไม้กดลิ้น
ลูกยาแดง
3%hydrogen peroxide
syringe 10 cc
สารหล่อลื่นทาริมฝีปาก เช่น วาสลินทาปาก
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ต้องทำความสะอาดแบบพิเศษ
ผู้ป่วยที่มีปัญหาช่องปาก ต้องทำความสะอาดปากและฟันทุก 2 ชั่งโมง
แปลงฟันทุกซี่ทุกด้าน นาน5 นาที หลังอาหารทุกมื้อ
วิธีทำความสะอาดปากผู้ป่วย
ที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
5.ใช้ไม้กดลิ้น พันด้วบผ้าก๊อชเพื่อช่วยอ้าปาก
6.ตรวจดูสภาพของเยื่อบุปาก เหงือก ฟัน
4.ทำความสะอาดเหมือนแปรงฟันด้านนอก
7.ทำความสะอาดเหมือนการแปลงฟันด้านใน ด้นบดเคี้ยวทั่วไป
3.ใช้ไม้พันสำลัชุบน้ำยาบ้วนปาก
8.สูบฉีดล้างช่องปากให้ทั่ว ดูดน้ำออกให้หมด
2.ตรวจดูสภาพของปากและฟัน
9.เช็ดปากให้ผู้ป่วย
1.ใช้ลูกสูบยาดูดน้ำฉีดล้างช่องปาก
10.เก็บของใช้ไปทำความสะอาด และเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย
11.ลงบันทึกทางการพยาบาล
วัตถุประสงค์
2.จำกัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
3.ลดการอักเสบของเหงือก กระพุังแก้ม
1.ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
4.สังเกตฟัน เหงือก ลิ้น มีแผล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
สุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
3.การวางแผลการพยาบาล
(Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแห้ปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัย
4.การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย
การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความสะอาดปากและฟัน
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nuesing diagnosis)
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลง เพราะเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องเนื่องจากอัมพาต
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายของตนเอง เพราะเครียด
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกายเนื่องจาก
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธิ์การพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
1.ประเมินผู้ป่วย (Health assessment)
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศีรษะ ตา หู จมูก
ประเมินระดับความสามารถในการดูแลตนเอง
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษา
และอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/
การอาบน้ำ (Bathing)
การนวดหลัง
(Back rubor back massage)
จุดประสงค์
3.ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลสย ลดความตึงตัว
4.กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
2.ป้องกันแผลกดทับ
5.สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
1.กระตุ้นการไหฃลเวียนโลหิต
เครื่องใช้
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแป้ง
หลักการนวดหลัง
3.ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
4.นวดเป็นจังหวะ สม่ำเสมอ
ไม่นวดบริเวณที่อักเสบ มีแผล
5.เลือกใช้แป้งหรือโลชั่นหรือครีม
1.จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
6.ใช้เวลานวด 5-10นาที
วิธิปฏิบัติ
4.จัดท่านอนคว่ำ
5.เลื่อนผ้าห่มมาบริเวณก้นกบปูผ้าเช็ดตัวทับผ้าห่ม
3.ล้างมือ
6.ทาแป้งทาครีม หรือโลชั่นเพียงอย่างเดียว
2.นำเครื่องมือต่างๆมาวางที่โต๊ะจ้างๆเตียง กั้นม่านให้มิดชิด
7.นวดบริเณหลัง
1.แนะนำตนเองบอกให้ผู้ป่วยทราบอธิบายวัตถุประสงค์
การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partia bath)เช่น ผู้ป่วยกระดูกขาหักใส่เฝือก
การจุดประสงค์กอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงสมบูรณ์ (Complete bed bath)
เช่น ผู้ป่วยติดเตียง
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
(Bathing in bath room/shower)
จุดประสงค์การอาบน้ำ
ผู้ป่วยติดเตียง
2.ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
3.ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
1.กำจัดสิ่งสกปรก
4.สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
5.กระตุ้นการไหวเวียนเลือด
และป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
สุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจ
ถิ่นที่อยู่ การดำเนินชีวิตในเขตเมืองและเขตชนบท
เศรษฐกิจ หากมีเศรษกิจไม่พอดพียง ผู้ป่วยอาจ
ต้องทำงานหารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตัวเอง
ภาวะการเจ็บป่วย เช่นโรคหัวใจ
การศึกษา บุคคลที่มีการศึกษา จะทราบถึงประโยชน์
และโทษการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล
สิ่งแวดล้อม ในฤดูร้อนอุณหภูมิสูงทำให้รู้สึกร้อน อบอ้าว
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บป่วยรุนแรงหรือเจ็บป่วย
ทำให้การดุแลสุขภาพส่วนบุคคลลดลง
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
เพศ เพศหญิงอ่อนแอกว่าเพศชาย
ความชอบ
อายุ เช่น เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตัวเอง
ความสำคัญของ
การส่งเสริมสุขอนามัย
พยาบาลจะต้องเป็นเพื่อให้การพยาบาล
การดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐาน
เมื่อบุคคลอยู่ในภาวะเจ็บป่วย
จะไม่มีความสุขทางด้านร่างกายจิตใจ
เป็นสิ่งที่พยาบาลควรตระหนัก
เพื่อสร้างความมั่นใจ
ดังนั้นพยาบาลจึงจำเป็นต้องรู้และเข้าใจ
ถึงหลักการและเทคนิคปฏิบัติการพยาบาล
การทำความสะอาดร่างกายตนเอง
เป็นพฤติกรรมสุขภาพพื้นฐาน
เพื่อขจัดสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบาย
การดูแลสุขภาพเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบาย
ทั้งร่างกายจิตใจและมีความสุข
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อน
และการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล
การศุรเสียบทบาทหน้าที่ทางครอบครัว
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ปัจจัยภานนอก
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
อุณหภูมิ
ยา
เสียง
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ
และ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงมากกว่าปกติ
หลับขณะขับรถยนต์ หรือรอติดไฟแดง
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
พฤติกรรมที่ควรตื่นแต่กลับหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดไม่มีการกรอกตา
Isomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น เป็นระยาเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง นานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
สาเหตุ เช่นโรคซึมเศร้า โรคสมองเสื่อม ยารักษาสเตียรอยด์
คาเฟอิน อาการขากระตุกเป็นพักๆ
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว ช่วงเวลาสั้นๆ 3-5 วัน
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ได้แก่ ความคิดบกพร่องการรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมทำให้ขาดประสิทธิภาพ ร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ได้แก่ เมื่อยล้า อาเจียน ท้องผูก
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อสติปัญญา
และการรับรู้
เมื่อหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง
สามธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ความมั่นใจในการทำงานลดลง
ผลกระทบต่อจิตใจ
และอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
อาจมีอาการเซื่องซึม และหงุกหงิดง่าย
วรจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา NREM
ระยะที่2 หลับตื้น การหลับช่วงต้น ไม่ได้ยินเสียงจากภายนอก
ระยะที่3 หลับปานกลาง ใช้เวลาประมาณ 20-30นาที
ระยะที่1 เริ่มมีความง่วง คนในทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่30 วินาที-7นาที
ระยะที่4 หลับลึก หลับสนิทอาจมีละเมอหรือฝันร้ายได้ ใช้เวลา30-50นาที
ช่วงหลับฝัน REM
ภาวะตื่น
ระยะที่1NREM ระยะที่2NREM ระยะที่3NREM ระยะที่4NREM
ระยะที่3NREM ระยะที่2NREN REM ระยะที่2NREM
สรีรวิทยาขณะนอนหลับ
อัตนการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30ครั้ง/นาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตาไม่สม่ำเสมอ
ความดันเลือดซิสโตลิค จะลดลง 20-30mmHgขณะหลับ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆคลายตัว
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
ความเจ็บการได้ยินการสัมผัสจะลดลง
ปริมาณปัสสาวะลดลง
การผลิตความร้อนลดลงร้อยละ10-15
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน
ท้อผูก ปวดศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
อุณหภูมิ เสียง กลิ่น แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้
ความสะอาด ความเป็นเรียบร้อย
ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position ท่านอนคว่ำ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Fowler's position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90องศา
Sitting position เป็นท่านั่งที่สบายที่สุด
Dorsal position เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดกัน
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงาน
ส่่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
ควบคุมอุรหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
โดยมีการสร้างและสะสมพลังงานในขณะหลับ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริม
การพักผ่อนและการนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล
(Planning)
เกณฑ์การประเมินผล คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ผู้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
กับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การวางแผน วางแผนให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อน
เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล
(Implementation)
4.จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วงๆไม่รบกวนการนอนผู้ป่วย
5.แจ้งให้ผู่ป่วยทราบเรื่องแขกมาเยี่ยม
3.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ
6.ไม่ดื่มน้ำหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
2.ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
7.งดกาแฟ ชาโค้ก ก่อนนอน
1.ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ (แบบแผนที่5)
8.สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ป่วยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
9.สอนเรื่องเทคนิคการคลายเคลรยด และการจัดการความเครียด
10.พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษาและดูแลความปลอดภัย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของ
ร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล
(Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่า ร้อยละ80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ผู้ป่วยนอนหลับได้สนิทมากขึ้น
การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health assessment)
S; นอนไม่หลับมา 3วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตื่น
O:การตรวจร่างกาย พบท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น
ขอบตาทั้งสองข้างเขียว เหมือนอดหลับอดนอน
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย
การพักการทำงานของอวัยวะต่างๆ โดยนั่งเฉยๆ ชั่วขณะหนึ่ง
ผ่อนคลาย และสงบทั้งจิตใจและกาย
การพักผ่อนของ
ผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดๆ
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนบนเตียง สามารถทำกิจกรรมต่างๆได้ เช่น ไปเข้าห้องน้ำด้วยตนเอง
การนอนหลับ
มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวของร่างกายลดลง
มีการเอนกายลงในท่าสงบนิ่งและหลับตา
โดยมีการเปลี่ยนแปลงอวัยวะต่างๆของร่างกายได้แก่ ระดับการรู้สติ
ประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่นๆ
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
(Open/unoccupied)
จุดประสงค์
1.ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
2.ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
การทำเตียงว่าง(Bed making)
จุดประสงค์
2.จัดเตรียมความพร้อมรับผู้ป่วยใหม่
1.จัดสิ่งแวดล้อมสะอาดให้ส่งเสริมความสุขสบาย เป็นระเบียบ
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
(Occupied bed)
1.ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
2.ให้เตียงผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมสะอาดเรียบร้อย สวยงาม
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ether/anesthetic bed)
จุดประสงค์
1.เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
2.เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยสำลัก
หรือลิ้นตกและเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย