Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ, unnamed, image…
หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ
การดำเนินนชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
ศาสนา และ ลัทธิ(RELIGION AND DOCTRINE)
กรมฉบับราชบัณฑนตยสถาน ปี2525 ได้ให้ความหมายของศาสนาไว้ว่า “ลัทธิ
แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่งแสดงหลักรรมเกี่ยวกับบญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่งพร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
“คตินความเชื่อถือหรือความคิดเห็น เช่น ลัทธิศาสนา ลัทธิการเมือง ลัทธิประเพณี”
ลัทธิตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Doctrine ซึ่งแปลว่าคำสั่งสอนหรือการสั่งสอน หมายถึงความเชื่อในความรู้และประเพิณีที่ได้รับสืบต่อกันมา
จำนวนผู้นับถือศาสนาและลัทธิต่างๆทั่วโลก
ศาสนาคริสต์: 2.1พิันล้านคน
ศาสนาอินสลาม: 1.5พิันล้านคน
ไม่นับถือศาสนา/เชื่อในวนทยาศาสตร์แบบตายแล้วสูญ/อศาสนา: 1.1พิันล้านคน
ศาสนาพิราหมณ์-ฮินดู: 900ล้านคน
ศาสนาพุทธนิกายมหายานของจีน/ลัทธิขงจื๊อ/ลัทธิเต๋า/นับถือบรรพบุรุษ/พระโพธิสัตว์เจ้าแม่กวนอิม: 394 ล้านคน
ศาสนาพุทธ: 376 ล้านคน
จำนวนผู้นับถือศาสนาและลัทธิต่างๆทั่วโลก
ศาสนานับถือผีของเผ่าตน: 300ล้านคน
ศาสนาซิกข์: 23 ล้านคน
ลัทธิจูเช(นับถือคิมอิงซง): 19 ล้านคน
ศาสนายิว: 14 ล้านคน
ศาสนาบาไฮ: 7 ล้านคน
ศาสนาเชน: 4.2 ล้านคน
ศาสนาชินโต: 4 ล้านคน
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ (พุทธศาสนิกชน)
พุทธศาสนากับความจริงสูงสุด 4 ประการ
กฏไตรลักษณ์ (The three characteristics of existence) : อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
อริยสัจ (The four noble truths): ทุกข์ สมุทัย (เหตุ ของทุกข์ )นิโรธ (ผลของทุกข์) มรรค (วิธีดับทุกข์)
ปฏิจจสมุปบาทกระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน (Nirvana) ความดับสนิทของตัณหาการสนินไปของราคะโทสะโมหะอายตนะ (สิ่ง) นั้นจะไม่มีอยู่
กฏไตรลักษณ์ (THE THREE CHARACTERISTICS OF EXISTENCE) :อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง
ทุกขัง คือความทุกข์ถูกบีบคั้นไม่สมอยากตั้งอยู่ไม่ได้อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ สี่ ประการ (THE FOUR NOBLE TRUTHS):
หลักปรมัตถธรรม หรือ อริยสัจ 4ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
ทุกข์คือสภาพที่ทนได้ยากภาวะบีบคั้นกดดันขัดแย้งมีความบกพร่อง
สมุทัยคือเหตุเกิดแห่งทุกข์เอาตัวตนเป็นที่ตั้ง
นิโรธคือความดับทุกข์ดับความอยากสิ้นราคะตันหาสิ้นโทสะสิ้นโมหะ
มรรค คือ ทางปฏิบัติในการออกจากทุกข์ 8ประการ
อริยสัจ (THE FOUR NOBLE TRUTHS):ทุกข์สมุทัย(เหตุของทุกข์)นิโรธ (ผลของทุกข์) มรรค (วิธีดับทุกข์)
ทุกข์ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น
สมุทัย สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ได้แก่ ตัณหา 3 คือกามตัณหาภวตัณหาวิภวตัณหา
นิโรธ คือ ความดับทุกข์
มรรค แนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์
มรรค 8
สัมมาทิฏฐิมีความเห็นถูกต้องความไม่รู้ก่อให้เกิดความเห็นผิด
สัมมาสังกัปปะมีความคิดถูกต้องคู่กับสัมมาทิฏฐิ
สัมมาวาจาควบคุมวาจาของตนไม่กล่าวเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดหยาบคายไม่พูดเพ้อเจ้อ
สัมมากัมมันตะการประพฤติตนที่ถูกต้องรักษากริยาทางกายไม่ทำร้ายทำลายชีวิตบุคคลอื่น
สัมมาอาชีวะประกอบอาชีพในทางสุจริตเว้นจากการค้าอาวุธค้ามนุษย์ยาพิษเนื้อสุราไม่ข่มขู่กินสินบน เจ้าเล่ห์
สัมมาวายามะพยายามที่จะหยุดความคิดที่ชั่วควบคุมตนเองมีวินัยในตนเองไม่ปลุกเร้าและหยุดอกุศลวิตก
สัมมาสติการรู้สึกตัวอยู่เสมอใจมีสติกำกับกำหนดการเคลื่อนไหวของกาย
สัมมาสมาธิการที่จิตใจสงบมีอารมณ์เดียวไม่ฟุ้งซ่านพร้อมที่จะพินจารณาสัจภาวะ
พุทธศาสนิกชนกับศีล
1.ไม่ฆ่าสัตว์ 2.ไม่ขโมย 3.ไม่ประพิฤตนผนดในกาม 4.ไม่โกหก 5.ไม่ดื่มสราเมรัย
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพุทธศาสนิกชน
การดูแลร่างกาย
การดูแลจิตใจ
การดูแลจิตวิญญาณ
การดูแลด้านสังคม