Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “การพูด”, นางสาวกมลพร รัฐอินทร์ คณะครุศาสตร์…
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “การพูด”
ความหมาย /ความสำคัญ
ความหมาย
ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง ท่าทาง
ถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการ /สื่อสาร
เปล่งเสียงออกมา
ความสำคัญ
การศึกษา
ใช้ทักษะการพูดเป็นพื้นฐาน
เล่าเรื่อง
อธิบาย
อภิปราย
บรรยาย
อาชีพ
ทุกอาชีพต้องพูด
เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ต้องการ
ครู = อบรมสั่งสอน
ทนาย = ว่าความ
ดารา = พูดตามบท
ข้าราชการ = พูดกับประชาชน
นักธุรกิจ = ต่อรอง
การเมือง/ปกครอง
“นักการเมืองต้องใช้ทักษะการพูด”
แถลงนโยบาย
ประชุมสภา
เจรจาระหว่างประเทศ
ปราศรัย
หาเสียง
ศาสนา
เผยแพร่
พิธีกรรม
เทศน์มหาชาติ ฯลฯ
องค์ประกอบ
คนพูด
คนส่งสาร
มีทักษะในการถ่ายทอด
คนฟัง
คนรับสาร
มีทักษะการฟัง ตีความ
มีพื้นฐานในเรื่องที่ฟัง
ไม่ทะเลาะกับคนพูด
มีทัศนคติที่ดีกับตัวสาร
ข้อมูล ข่าวสาร
เนื้อหา สาระ
ข้อเท็จจริง
ประสบการณ์
ความคิด
ความรู้สึก
ชัดเจน เข้าใจง่าย
เครื่องมือ
ไมโครโฟน
เครื่องเสียง
เครื่องบันทึกเสียง
กลวิธี
วิธีนำเสนอ
บรรยาย
ทอล์คโชว์
อ่านจากต้นฉบับ
เล่านิทานประกอบ
น่าสนใจ
เหมาะกับคนฟัง
ผลจากการพูด
ดี
คนฟังหัวเราะ
คนพยักหน้า
ไม่ดี
คนฟังขมวดคิ้ว
คนฟังเหม่อ
ปรับปรุง
ท่าทาง
เนื้อหา
วัตถุประสงค์
ให้ความรู้
Comment
บันเทิง
รายงาน / นำเสนอ
ยกย่อง / ชมเชย
โน้มน้าวใจ
สร้างไมตรี
ทำธุรกรรม (เงิน ที่ดิน ฯลฯ)
ประเภท
จำนวนคนฟัง
รายบุคคล
(ตัวต่อตัว)
สนทนา
สัมภาษณ์
เล่าเรื่อง
แนะนำตัว
ในที่ชุมชน
(คนเยอะ ๆ )
บรรยาย
อภิปราย
สุนทรพจน์
ปาฐกถา ฯลฯ
วิธีพูด
ฉับพลัน
(ไม่ได้เตรียมตัว)
อวยพร
ต้อนรับ
ขอบคุณ
เตรียมตัวล่วงหน้า
วิทยากร
เตรียมการสอน
อ่านจากต้นฉบับ
กล่าวเปิดงาน
กล่าวรายงาน
กล่าวเปิดประชุม
ปราศรัย
ท่องจำ
สูตรคูณ ตัวเลข
สุภาษิต คำพังเพย
คำคม
คำขวัญ
ควรคำนึง
มีมารยาท
เรื่องที่คนพูด-ฟัง สนใจ พอใจทั้งคู่
ไม่พูดเรื่องตัวเองเยอะเกินไป
ตรงประเด็น
เคารพ รับฟังความเห็นคนอื่น
เหมาะกับคนฟัง
วิเคราะห์
วัย
เพศ
อาชีพ
ระดับการศึกษา
เรื่องที่สนใจเป็นพิเศษ
เหมาะกับกาลเทศะ
โอกาส
งาน
เป็นทางการ /ไม่เป็นทางการ
พูดให้คนเข้าใจตรงตามที่ต้องการ
ใช้คำสื่อความต้องการชัดเจน
เลี่ยง พูดแบบตีความได้หลายมุม
นางสาวกมลพร รัฐอินทร์
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย กลุ่มที่ 2
รหัสนักศึกษา 6013112031