Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อศาสนาพุทธ
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา (Religion) ข้อผูกพันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสำคัญในศาสนา
แก่นหรือสาระสำคํญของคำสอน
หลักศีลธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนำชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคำสอน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุุณและตอบแทน เพื่อการดำรงอยู่อย่างปกติสุข ทุกคนจึงมีหน้าที่ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมของพระพุทธเจ้า คือการปฏิบัติต่อกัน
หลักปฏิบัติศีลธรรม
ศีล 5 เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
กฏไตรลักษณ์ หมายถึง กฏของธรรมชาติ
อริยสัจ หมายถึง คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เหตุและผลของการเกิดแห่ง
ทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท หมายถึง กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ำ ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่
มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
ผู้ป่วยเมื่อยามเจ็บป่วย ต้องรู้จัก
ทำใจให้สงบ ร่วมมือกับผู้ให้การดูแล/รักษา เพื่อทำให้ทุกข์ บรรเทาเบาบาง/หมดไป
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การ
ดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
การดูแลรักษาด้านสังคม
การนำผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
กินผักกินไม้หยุดทำลายชีวิตสัตว์
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิด
ความเครียด ความอิจฉาริษยา
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และ
กลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทำให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
อันเป็นที่ตั้งแห่งความ
ประมาท มีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองและผู้อื่น
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตาม
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทำไว้แล้ว ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ในเวลาใกล้จะดับจิตกรรม
ดีและกรรมชั่วที่ได้กระทำไว้แล้วนั้นแหละ
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิด มาปรากฏให้เห็น ในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
ถ้าจะไปเกิดในอบายภูมิ
ความตายตามแนวทางพุทธศาสนา
ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ กันที่แน่นอนคือ ทุกคนต้อง
ตาย แต่ที่ไม่แน่นอน คือ ไม่ทราบว่าจะตายเมื่อไร ที่ไหน ด้วยโรคอะไร
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ ในทางพุทธศาสนา ถือว่าการหมดลม
หายใจเป็นเพียงการตายทางกายภาพ แต่ยังไม่นับว่ากระบวนการตายสิ้นสุดลง เพราะจิตยังทำงานอยู่
การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมานนั้นเป็นไปได้
โดยผู้ป่วยสามารถฝึกจิตเองหรืออาจอาศัยสภาพแวดล้อมช่วย
การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาไม่ใช่ตายอย่างไร สภาพแบบไหน แต่อยู่ที่สภาพจิตก่อนตาย
ว่าเป็นอย่างไร ให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมา
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศล แต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคำอำลา หากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคำอำลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆ ที่เขาทำ
ให้กับทุกคน
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป ท่านว่าเป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทำงานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทำอะไร ได้แค่ไหน
การดำเนินของโรคทำให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือ
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านร่างกาย
เมื่อคนใกล้ตายความอ่อนเพลียเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับ แต่ไม่จำเป็นต้องให้
การรักษาใด ๆ ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
จิตที่แจ่มใสจะอยู่ในร่างกายที่สมบูรณ์