Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสาคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขภาพตนเองเป็นส่ิงท่ีมนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทาความสะอาดร่างกาย ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานท่ีต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกๆวัน
ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
การศึกษา บุคคลท่ีมีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษา ความสะอาดของร่างกายและส่ิงแวดล้อม
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บารุงผิว ผม ปาก ฟัน และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากข้ึน
อาชีพ บุคคลที่มีอาชีพเก่ียวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ ความสาคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ถิ่นที่อยู่ การดาเนินชีวิตภายใต้ถิ่นท่ีอยู่ท่ีแตกต่างกัน เช่น การดาเนินชีวิตในเขตเมือง และเขตชนบท
ส่ิงแวดล้อม ในฤดูร้อนอุณหภูมิจะสูงทาให้รู้สึกร้อนอบอ้าว บุคคลท่ีอาศัยอยู่ในท่ี อากาศร้อนก็จะอาบน้า หรือลูบตัวบ่อยครั้ง
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ความชอบ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแล สุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัว โรงเรียน
ภาวะเจ็บป่วย ในภาวะการเจ็บป่วย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวย ทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใจ
เพศ ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลท่ีแตกต่างกัน
อายุ ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่าง กัน เช่น เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตนเองผู้ปกครองต้องให้การดูแลอย่าง ใกล้ชิด
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care) เป็นหน้าที่ความ รับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก ท่ีให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care) เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า ท่ีจะให้การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care) เป็นหน้าที่ของ พยาบาลเวรเช้า หากทำกิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น. หากทำในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็น หน้าที่ของเวรบ่ายในการดูแลทำความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผม ตลอดจนการรักษาพยาบาลอื่น ท่ีมีในเวรบ่าย
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care) เป็นหน้าท่ีของพยาบาลเวรบ่าย เป็นการพยาบาลท่ีให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอน
การพยาบาลเมื่อจาเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care) พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยตลอด 24 ชั่วโมง
การดูแลความสะอาดร่างกาย
ประกอบด้วย การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้า (Bathing) การดูแลความ สะอาดของปากและฟัน หู ตา จมูก เล็บ เส้นผมและหนังศีรษะ
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ (Bathing)
การอาบน้าที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
จุดประสงค์ การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
กำจัดสิ่งสกปรก ท่ีสะสมบนผิวหนัง
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกาย
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต
การอาบน้าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
(Complete bed bath)
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดๆ
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำ กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับ เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการ ทางานของร่างกายด้านอื่น
ความสาคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อข้ึนใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผล
สงวนพลังงาน พลังงานท่ีใช้ของร่างกายและสมองจะลดลง
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจา
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย : ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ : ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ อารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้ : เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำ ให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม : บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทาง สังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 1 (เร่ิมมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับท่ีเปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนท่ัวไป
ใช้เวลาต้ังแต่ 30 วินาที - 7 นาที
ระยะที่ 2 (หลับตื้น) การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพท่ีไม่ได้ยินเสียงรบกวน จากภายนอก
ระยะท่ี 3 (หลับปานกลาง) ทั้งคลื่นสมองและชีพจะ
จะเต้นช้าลง ความมีสติ รู้ตัวจะหายไป
ระยะที่ 4 (หลับลึก) เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับ
โดยปราศจากระยะท่ี 4 นี้
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
ช่วงเวลาหลับฝันนี้จะกินเวลาประมาณ 30 นาที หลังจากผ่านช่วงหลับฝันไปแล้ว ก็จะกลับเริ่ม ท่ีระยะท่ี 1 ของ NREM ใหม่ หมุนเวียนอย่างน้ีไปเรื่อยๆ โดยแต่ละรอบจะใช้เวลา 80-120 นาที
ปัจจัยท่ีมีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานท่ีทาให้แบบแผนการนอนหลับ
เปลี่ยนแปลง โดยมีผลต่อวงจรการนอนหลับ ต้ังแต่วัยทารกถึงวัยสูงอายุ
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบ แผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี เม่ือเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น พบว่าการนอน หลับระยะ REM ลดลง ตื่นขณะหลับ เพศหญิงจะพบการนอนท่ีเปลี่ยนแปลงนี้ในวัยกลางคน
ปัจจัยท่ีมีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปล่ียนแปลงแบบ แผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี และเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนต้น พบว่าการนอน หลับระยะ REM ลดลง ตื่นขณะหลับ เพศหญิงจะพบการนอนท่ีเปลี่ยนแปลงนี้ในวัยกลางคน
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานท่ีทำให้แบบแผนการนอนหลับ
เปลี่ยนแปลง โดยมีผลต่อวงจรการนอนหลับ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างจากสายยางและท่อ
ท่านอนท่ีไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย (general anesthesia)
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับ อยู่ในระดับ 3.03 จากคะแนนเต็ม5คะแนนความวิตกกังวลมักเกิดจากส่ิงท่ีคุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกาย และจิตใจ ได้แก่ ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล การสูญเสียบทบาทหน้าที่ทางครอบครัวและ สังคม การไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมือนปกติ
ปัจจัยภายนอก
เสียง
เสียงเป็นปัจจัยสำคัญท่ีเกิดข้ึนในขณะนอนในโรงพยาบาล แหล่งของเสียงรบกวนพบบ่อยท่ีสุด
เช่นเสียงอุปกรณ์การแพทย์
อุณหภูมิ
อุณหภูมิท่ีต่ำหรือสูงเกินไป จะทำให้ผู้ป่วย กระสับกระส่ายเพิ่าขึ้น และตื่นบ่อยข้ึน
แสง
แสงเป็นปัจจัยท่ีรบกวนการนอนหลับ โดยส่งผลต่อระยะการเริ่มต้นของการนอนหลับ
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่ส่ิงแวดล้อมของโรงพยาบาล
เปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่ เช่น ขนาดของเตียงนอน ผู้ป่วยพลิกตัวกลัวตกเตียง
ความแข็งของที่นอนและหมอน
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาลท่ีผู้ป่วย
ได้รับตามเวลา ได้แก่ การทาหัตถการต่าง
การพลิกตะแคงตัว การให้ยากินและฉีด
อาหาร
การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan) ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ ส่วนเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน
ยา
ยาท่ีรบกวนการนอนหลับ ได้แก่ ยาบาบิทูเรต (barbiturates) โดยยาจะไปออกฤทธิ์รบกวนการนอนหลับในระยะ REM เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ
การนอนหลับท่ีผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia) เป็น การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้นๆ 3- 5 วัน
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น(Short term insomnia)
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia) เป็น การนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่ง
จะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในท่ีไม่ควรหลับ
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่นหรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดข้ึนขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน (sleep bruxism) การปัสสาวะรด ที่นอนขณะหลับ (sleep enuresis)
การกรน (primary snoring)
การไหลตาย (sudden unexplained nocturnal death)
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดส่ิงแวดล้อม
ความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและน่าอยู่อาศัย สภาพแวดล้อมของที่พักต้องสะอาด
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง
20-25 องศา
เสียง แหล่งกำเนิดเสียงจากภายนอกห้อง
กลิ่น แบ่งออกเป็น กลิ่นหอมและกลิ่นเหม็น
แสงสว่าง สภาพแวดล้อมท่ีดีต้องไม่มืดสลัว
หรือสว่างจ้าจนเกินไป
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจ
ในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position)
เป็นท่านอนหงายราบขาชิดติดกันใช้ในการตรวจร่างกาย
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนท่ีสุขสบายและเพื่อการรักษา ท่าน้ีลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย สำหรับ ผู้ป่วย ท่ีไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ ท่าน้ีจะช่วยให้น้ำลาย เสมหะไหลออก
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง จัดเพื่อความสุขสบายของ ผู้ป่วย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายสาหรับผู้ป่วยได้เปลี่ยน อิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
เพื่อความปลอดภัย
การทำเตียง
หลักปฏิบัติการทาเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามลาดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของท่ีนอน
ควรทาเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูท่ีนอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอก
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวท่ีราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ป่วยควรแจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะท่ีดี
หันหน้าไปทิศทางในงานท่ีจะทา ไม่ควรบิดหรือเอี้ยว
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทางานอย่างนุ่มนวลและ
ยึดหลักการทาเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น
สะอาด ไม่เปียกชื้น
การทาเตียงว่าง เป็นการทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย เพื่อเตรียมรับ ผู้ป่วยใหม่ หรือทำเตียงที่ผู้ป่วยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)