Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคล ในวัยเด็ก วัยรุ่น ที่เกิดอุบัติเหตุและกา…
การดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคล ในวัยเด็ก วัยรุ่น
ที่เกิดอุบัติเหตุและการได้รับสารพิษ
อุบัติเหตุแต่ละช่วงวัย
วัยทารก (แรกเกิด-1 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ การพลัดตกหกล้ม เลือดออกในสมองและประสาท
ตาจากการเขย่าตัวเด็ก การอุดกั้นทางเดินหายใจจากกลืนสิ่งแปลกปลอม
วัยเตาะแตะ (1-3 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ การพลัดตกหกล้ม การจมน้ำ การอุดกั้น
วัยก่อนเรียน (4-6 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ อุบัติเหตุจากการจราจร การจมน้ำ ไฟไหม
วัยเรียน (6-12 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ อุบัติเหตุจากการจราจร การจมน้ำ ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
ไฟฟ้าช็อต ถูกแมลงหรือสัตว์กัดต่อย และกินสารพิษ
วัยรุ่น (13-18 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ การจมน้ำ อุบัติเหตุจากการจราจร และการฆ่าตัวตาย
วันทำงาน ( 15-60 ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ อุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน และอุบัติเหตุจาก
การจราจร
วัยผู้สูงอายุ (>60ปี)
อุบัติเหตุที่พบบ่อย ได้แก่ อุบัติเหตุจากการหกล้ม และอุบัติเหตุจากการจราจร
ชนิดของอุบัติเหตุที่พบบ่อย
จมน้ำ(Drowning)พบเป็นอุบัติเหตุอันดับหนึ่งของการเสียชีวิตในเด็ก มักจะทำให้ตายในเวลาเพียงไม่กี่นาท เมื่อจมน้ำจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย 3 ประการ
ภาวะขาดออกซิเจน (Hypoxia) 2. สำลักน้ำและโคลนเข้าปอด (Aspiration) 3. ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (Hypothermia)
น้ำจืด
มีความเข้มข้นน้อยกว่าพลาสมาในเลือด น้ำในปอดจำนวนมากจะถูกดูดซึม
เข้ากระแสเลือดทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่ม (hypervolemia)
น้ำทะเล
จะมีความเข้มข้นมากกว่าพลาสมาในเลือด น้ำทะเลที่สำลักอยู่ในปอด จะดูดซึมจากกระแสเลือดเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
ปัจจัยที่ผลต่อพยาธิสรีรภาพของการจมน้ำ
1.อายุของเด็ก เด็กเล็กทนต่อภาวะขาดออกชิเจนได้น้อยกว่าเด็กโต
2.เด็กเล็กมี Diving Reflex กล่าวคือ เป็น Reflex ที่เกิดขึ้นเมื่อใบหน้าของเด็กกระทบความเย็นของน้ำ ที่มีอุณหภูมิน้อยกว่า 20 องศาเซลเซียส ทำให้เด็กหยุดหายใจ (Apnea) หัวใจเต้นช้า (Bradycardia) และหลอดเลือดทั่วไปของร่างกายหดตัว
อุณหภูมิของน้ำที่จมลงไป
ระยะเวลาที่จมอยู่ในน้ำ ถ้าจมนานเด็กจะมีภาวะขาดออกซิเจนนาน
การได้รับการรักษาเบื้องต้นที่รวดเร็วหรือล่าช้า
การดูแลที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพี่อให้สมองที่ได้รับการกระทบกระเทือนกลับคืนมาทำงานอย่าง
2.การได้รับสารพิษ (Poisoning)
ชนิดของสารพิษ
-กลุ่มสารพิษที่มีตะกั่วเป็นส่วนประกอบ
-กลุ่มสารกัดกร่อนเป็นสารเคมีจำพวกกรด ด่างเข้มข้น
-กลุ่มน้ำยาท าความสะอาดเสื้อผ้า
-กลุ่มไฮโดรคาร์บอน เช่นน้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน
-กลุ่มยาฆ่าแมลง
-กลุ่มยารักษาโรคมักเกิดจากการได้รับยาเกินขนาด
เช่น แอสไพริน พาราเซตามอล
หลักการรักษาเมื่อได้รับสารพิษ
นำสารพิษออกจากร่างกายให้มากและรวดเร็วที่สุด
การทำให้อาเจียน
เป็นวิธีที่ดีที่สุด การทำให้อาเจียนที่ง่ายที่สุด คือ การล้วงคอ
:red_cross:ห้ามทำให้อาเจียนในกรณีต่อไปนี :red_cross:
• หมดสติ เพราะอาจทำให้สำลักเข้าปอดได้ง่าย
• รับประทานสาพิษพวกกรดเข้มข้น ด่างเข้มข้น
• รับประทานสารพวกไฮโดรคาร์บอน เพราะจะให้สำลักเข้าปอดได้ง่าย
การล้างท้อง (Gastric lavage)
ควรทำในรายที่หมดสติ หรือไม่อาเจียนภายหลังการให้ยาแล้วในเด็กเล็กต้องทำด้วยระมัดระวัง เพราะอาจเกิดภาวะพิษจากการให้น้ำ (Water intoxication)
การให้สารน้ำทางเลือดดำ
หรือให้ยาที่ทำให้ปัสสาวะเป็นด่าง
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Blood exchange)
การป้องกันการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย การรับประทานสารพิษจำพวกกรด หรือด่างเข้าไปต้องท าให้กรดหรือด่างนั้นเจือจาง
การให้ยาแก้พิษ (Antidotes) ยาแก้สารพิษจะออก
ฤทธิ์ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ทำลายสารพิษโดยตรง
การประคับประคองสัญญาณชีพให้ปกติ ป็นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะผู้ปุวยอาจตายจากภาวะหัวใจวายหรือหายใจวาย ถึงแม้จะให้การรักษาถูกต้องแล้วก็ตาม
การช่วยเหลือเบื้องต้นเมื่อได้รับสารพิษ
กรณีรับประทานสารพิษเข้าไป
จะต้องรีบทำให้ผู้ปุวยอาเจียนทันที การทำให้อาเจียนที่ง่ายที่สุดคือ
การล้วงคอ
กรณีสารพิษหกราดผิวหนัง
หรือเสื้อผ้า ให้รีบล้างด้วยน้ำหลายๆ ครั้ง และถอดเสื้อผ้าออก แล้วใช้
น้ำล้างผิวหนังบริเวณที่ถูกสารพิษ และฟอกด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำอีกหลาย ๆ ครั้ง
กรณีสารพิษกระเด็นเข้าตา
ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด หลาย ๆ ครั้ง นาน 10-15 นาที หลักส าคัญคือ
จะต้องไม่ให้น้ าที่ล้างตาข้างที่ถูกสารพิษไหลเข้าตาข้างที่ไม่ถูกสารพิษ
กรณีหายใจเข้าไป
ให้รีบนำผู้ปุวยออกจากแหล่งที่มีสารพิษทันทีกรณีสูดดมเข้าไปจ านวนมาก หรือรีบ
นำส่งโรงพยาบาลทันที
สัตว์กัดต่อย
ผึ้ง แตน ต่อ และแมลงกัดต่อย
ภาวะฉุกเฉินที่พบได้สำหรับกรณีแพ้อย่างรุนแรงต่อพิษของแมลงที่กัดหรือผึ้งที่ต่อย อาจมีอาการดังนี้ ลิ้น ริมฝีปากและตาบวม มีอาการอ่อนแรงของแขนขา ไอหรือหายใจลำบาก มีเสียงเหมือนคนเป็นโรคหอบหืด
การพยาบาล
-รีบเอาเหล็กในออกจากแผลทันที
-สำหรับกรณีไม่รุนแรงอาจมีอาการแค่ปวดเล็กน้อย มีผื่นแดงและคัน ตรงตำแหน่งที่กัดให้ล้างด้วยน้ำและสบู่ ถ้าบวมแดงและคันมากๆ อาจใช้ครีมที่มีส่วนผสม ยาสเตียรอยด์ทาเพื่อแก้แพ้ แก้คัน
งูกัด
ภาวะฉุกเฉินที่พบขึ้นกับชนิดของงู ถ้าเป็นงูที่มีพิษอาจพบภาวะที่พิษของงูไหลกลับเข้าหัวใจ และ แพร่กระจายไปทั่วร่างกายได้รวดเร็ว ซึ่งหลักการปฐมพยาบาล เบื้องต้นที่สำคัญคือนำผู้ป่วยไปโรงพยาบาลให้ เร็วที่สุด
สุนัข/แมวกัด
การปฐมพยาบาล
รีบทำความสะอาดบาดแผลทันทีด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดหลายๆครั้ง แต่ล้างน้ำสบู่ให้สะอาด
2.ใส่ยาฆ่าเชื้อ เช่น โพวิโดน ไอโอดีน หรือฮิบิเทนในน้ำ หากไม่มีใช้ แอลกอฮอล์/ทิงเจอร์ไอโอดีนและพา ไปโรงพยาบาล
การอุดกั้นทางเดินหายใจ
อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้เสมอจากการที่ทางเดินหายใจถูกปิดกั้นหรือุดตัน ซึ่งพบได้บ่อยโดยเฉพาะในเด็กเล็ก ที่ มีอายุต่ำกว่า 5-6 ปี เด็กจำนวนไม่น้อยที่ถูกผ้าอ้อม เสื้อผ้าของตนเอง ผ้าห่ม หรือผ้าปูที่นอนปิดหน้า จนหายใจ ไม่ออก และถึงแก่ความตาย
สาเหตุ
เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก เช่น เม็ดกระดุม ลูกปัด เมล็ดพืช เมล็ดผลไม้ แมลง ก้อนหิน และบางครั้งเข้าถึงกล่องเสียง หลอดลม เช่น ของเล่นที่ทำด้วยพลาสติกชิ้นเล็กๆ ที่ทำเป็นรูปร่างต่างๆ
เกิดจากสิ่งแปลกปลอมเข้าปาก เช่น การกลืนอาหารแข็งในเด็กเล็กเป็นครั้งแรก การกลืนลูกอม
เกิดจากการส าลัก ไปปิดกั้นทางเดินหายใจ
นางสาวอภิญญา พรมสุริย์ รหัส613101106