Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization Management) - Coggle…
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization Management)
คือ การควบคุมคุณภาพ การจัดการยุคโลกาภิวัตน์เป็น
การจัดการที่องค์การต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมทางการแข่งขันที่รุนแรง
การเปลี่ยนแปลงด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การเปลี่ยนแปลงในด้านทัศนคติและพฤติกรรมของลูกค้า
การเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัตน์
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์นี้จะมุ่งให้ความสำคัญกับการดำเนินงานและปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์ที่สามรถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน มีแนวทางสำหรับความคิดดังนี้
1.การควบคุมคุณภาพ
ให้ความสําคัญในด้านคุณภาพ (Quality) ของผลิตภัณฑ์
ต้องได้รับประกาศนียบัตร ISO 9000 จากองค์กรกําหนดมาตรฐานโลก (InternationalOrganization
for Standardization) มาตรฐาน ISO
องค์การจะต้อง ทําการปรับปรุงและพัฒนาทั้งในด้านกระบวนการดําเนินงาน ด้านโครงสร้างความรับผิดชอบ และ ทรัพยากรเพื่อให้เกิดคุณภาพและจะต้องผ่านการตรวจสอบและประเมินจากจากภายนอกอีกด้วย
2.การควบควบคุณภาพโดยรวม
เป็นการดําเนินการที่เน้นการควบคุมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการเชื่อมโยงการปฏิบัติการต่างๆ ที่มีกระบวนการที่ขนานกันไว้จะทําให้สามารถทราบปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ก่อนที่จะสายเกินแก้ไข้
3.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
เป็นความพยายามขององค์การที่จะรักษาความได้เปรียบในเชิงคุณภาพไว้ โดย การหาวิธีการใหม่ๆ ที่จะนําเข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงผลการปฏิบัติการที่เป็ นอยู่ในปัจจุบันให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ความพยายาม ดังกล่าวมีความจําเป็ นต้องทําควบคู่กับเทคนิคการเปรียบเทียบ(Benchmarking) ซึ่งการเปรียบเทียบนี้องค์การจะเปรียบตัวเองในด้านต่างๆ กับองค์การที่มีประสิทธิภาพที่สุดในอุตสาหกรรมเดียวกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติของตนเอง นอกจากนี ้การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จะเกิดผลได้ยังมีความจําเป็นต้องการการมีส่วนร่วมของบุคลากรควบคู่ไปด้วย
การรื้อปรับระบบ
จะเป็นการปรับปรุงคุณภาพแบบทำทั้งระบบในครั้งเดียว ดังนั้น การปรับปรุงที่เห็นผลสำเร็จได้องค์กรจะต้องดึงแนวคิดและวิธีปฏิบัติออกมาจากกฎเกณณ์และข้อสมมติฐานที่เก่าแก่และล้าสมัย รวมทั้ง การกำหนดคิดใหม่ ทุกกระบวนการและทั้งระบบตั้งแต่การแสวงหาข้อมูล การวางแผน การพัฒนา บุคลากร การควบคุม การประเมินผลงาน
บริบทของผลที่ได้รับจากการศึกษาได้แก่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง ประเภทการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบและการประเมินผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง และโครงสร้างการบริหารความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ความเสี่ยง และเกณฑ์มาตรฐานการประเมินความเสี่ยงซึ่งในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการบริหารความเสี่ยงนั้น
ตามกรอบแนวคิด คือ การปรับตัวขององค์การในภาวะการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมในยุคโลกภิวัฒน์โดยการศึกษาวิธีการเชิงเหตุผล การบริหารจัดการความเสี่ยงกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง เพื่อศึกษาวิธีการปรับตัวจากแรงผลักดันจากภายนอกองค์การและแรงผลักดันภายในองค์การ ตลอดจนปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงเกิดใหม่และปัจจัยความเสี่ยงจากภายนอกและภายในองค์การ