Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (พุทธ) -…
บทที่2 หลักการดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา (พุทธ)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
วัตถุประสงค์การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ทํากิจวัตรสําคัญเท่าที่ทําได้
เป็นตัวของตัวเอง
ลดความทุกข์ทรมาน
อยู่อย่างมีคุณค่าในช่วงสุดท้ายของชีวิต
วิธีปฏิบัติที่ถูกต้องต่อความตาย
ขั้นที่ 2 สูงขึ้นไป
เป็นอริยสาวกผู้มีการศึกษาได้สดับแล้วก็ระลึกถึงความตายเป็นอนุสติ สําหรับเตือนใจไม่ให้ประมาท เร่งขวนขวายปฏิบัติ ประกอบหน้าที่คุณงามความดีให้ชีวิตมีประโยชน์มีคุณค่า
ขั้นที่ 3 คือให้รู้เท่าทันความตาย
มีคติเนื่องอยู่ในธรรมดาจะได้ชีวิตที่ปราศจากความทุกข์ ไม่ถูกบีบคั้นด้วยความรู้สึกหวาดหวั่นพรั่นกลัวต่อความพลัดพรากเป็นต้น มีใจปลอดโปร่ง โล่งสบายและเป็นอยู่ด้วยปัญญาที่กระทําไปตามเหตุผล ด้วยความรู้เท่าทันเหตุปัจจัย
ขั้นที่ 1 มนุษย์ปุถุชนทั่วไป
เป็นปุถุชนที่ยังมิได้สดับคือยังไม่มีการศึกษาก็ระลึกถึงความตายด้วยความหวาดหวั่นพรั่นกลัว เศร้าหดหู่ท้อแท้ ระย่อท้อถอย
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การใส่อุปกรณ์เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทํางานเป็นทีม
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทําอะไร ได้แค่ไหนต้องมีการสื่อสารอย่างเหมาะสมกับคนไข้แต่ละราย ทางเลือกของการรักษาช่องทางที่คนไข้จะกลับมาหาเราหรือการให้การดูแลที่เหมาะสม
การดําเนินของโรคทําให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
การพยาบาลผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต
การพยาบาลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
ควรให้โอกาสคนใกล้ตายได้แสดงความรู้สึกและความต้องการโดยพูดแต่สิ่งดีงามเพื่อการระลึกถึงคุณงามความดี บุญบารมีที่ได้กระทํามาในอดีต
อ่านหนังสือธรรมะให้ฟัง ท่องบทสวดมนต์หรือเปิดเทปบทสวดมนต์เบา ๆ ให้ฟัง
การพยาบาลด้านร่างกาย
ควรให้ผู้ป่วยในระยะนี้พักผ่อนให้เต็มที่
หากพบว่าจมูกแห้ง หมั่นทําความสะอาดและรักษาความชุ่มชื้นไว้
หากพบว่าปาก และริมฝีปากแห้งใช้สําลีชุบน้ําสะอาดแตะที่ริมฝีปากแล้วทางด้วยวาสลินหรือสีผึ้ง
หากพบว่าดวงตาแห้ง ให้หยอดตาด้วยน้ําตาเทียม
หากพบว่ามีเสมหะมากควรให้ยาลดเสมหะแทนการดูดเสมหะเพราะนอกจากไม่ค่อยได้ผล
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ อาจหมายถึง การแบ่งมรดกความน้อยเนื้อต่ําใจคนใกล้ตัว ความโกรธแค้น ความรู้สึกถูกผิด ฯลฯ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ แม้บางคนอาจไม่มีสิ่งค้างคาใจที่เป็นกุศลแต่ก็ต้องปล่อยวางทุกสิ่งเช่นกัน
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบเช่นการนําพระพุทธรูปที่เขานับถือมาให้บูชาหรือบรรยากาศที่ญาติมิตรพร้อมเพรียงกันช่วยกันสวดมนต์ ทําสมาธิหรือถ้าเขาไม่สนใจธรรมะ อาจเปิดเพลงที่เขาชอบเบา ๆ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึงการพูดจาให้เขายอมรับความตายเป็นศิลปะ
กล่าวคําอําลาหากเขาคิดว่าจะอยู่กับเราได้ไม่นาน ก็ควรกล่าวคําอําลา อาจพูดขอบคุณสิ่งดี ๆที่เขาทําให้กับทุกคน หรือแนะนําให้เขาปล่อยวาง เตรียมตัวเตรียมใจ ระลึกถึงพระพุทธพระธรรม พระสงฆ์และขอขมาเจ้ากรรมนายเวร
การให้ความรัก ความเข้าใจ ผู้ป่วยใกล้ตายมักจะมีความกลัวหลายอย่าง เช่นกลัวถูกทอดทิ้ง กลัวเป็นภาระ กลัวตายคนเดียว
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
พระองค์ทรงหายจากอาการประชวรด้วยการฟังท่านพระมหาจุนทะสาธยาย โพชฌงค์
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พระพุทธองค์ทรงประชวรหนัก เกิดเวทนาอย่างร้ายแรง ถึงใกล้จะปรินิพพาน พระองค์ทรงมีพระสติสัมปชัญญะไม่พรั่นพรึงอดกลั้นทรงดําริว่า การที่เราไม่ได้บอกภิกษุที่อุปัฏฐากไม่บอกลากพระสงฆ์ยังไม่ควรปรินิพพาน ถ้าอย่างไรเราพึงใช้ความเพียรขับไล่อาพาธนี้ ดํารงชีวิตสังขารอยู่เถิดทรงดําริเช่นนี้แล้ว ทรงขับไล่อาพาธนั้นทรงดํารงชีวิตสังขารอยู่แล้ว อาพาธของพระองค์สงบลงทรงหายจากประชว
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
พระพุทธเจ้าเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ประทับอยู่ที่เวฬุวนารามพระองค์ประชวรด้วยโรคลมที่เกิดในพระอุทร เมื่อพระอานนท์พุทธอุปัฏฐาก ได้ทราบจึงดําริว่า เมื่อพุทธองค์ประชวรแบบนี้ครั้งก่อนเคยเสวยยาคูปรุงด้วยของสามอย่าง คือ งา ข้าวสาร และถั่วเขียว จึงได้ปรุงยาคูสูตรนั้นถวายพระพุทธเจ้า เมื่อทรงเสวยไม่นานก็หายจากอาการประชวรและทรงพระสําราญ
การดูแลรักษาด้านสังคม
พุทธวิธีเสริมสุขภาพเป็นธรรมดาว่ากายกับใจนั้นเป็นสิ่งที่อาศัยกันและกัน พอกายเจ็บป่วย ไม่สบาย คนทั่วไปก็มักจะพาลจิตใจไม่สบาย เศร้าหมอง กระวนกระวาย กระสับกระส่ายไปด้วย และในทํานองเดียวกัน เมื่อจิตใจไม่สบายก็พลอยให้กายไม่สบายไปด้วย
หลักคำสอนในพุทธศาสนา
กฏไตรลักษณ์
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คอื ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
อริยสัจ
คำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วยความจริงอันประเสริฐ4ประการ เป็นความจริงเป็นเหตุและผลของการเกิดทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสูนิพพาน
ศาสนาพุทธ
อริยสัจ
ปฏิจจสมุปบาท
กฎไตรลักษณ์
นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับทุกข์
ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
ศีล5
เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ2 งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ3 งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ1 งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ4 งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ5 งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกำหนัด กำจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ(สิ่ง) สิ่งที่ไม่มีไป-มา ไม่มีเกิด-ตาย
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคำสอนสำคัญของศาสนา
โอวาทปาติโมกข์ คือการไม่ทำความชั่วทั้งปวง
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
ทุกข์ จาก อาการของโรค
ทุกข์ จาก ความวิตกกังวล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์
ทุกข์ จาก ภาวะเศรษฐกิจ
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญูญูกตวที คือการรู้จักบุญคุณและตอบแทน
การนำผลการปฏิบัติศีล5มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกามสาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จการโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง ดังตัวอย่าง ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ทําให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน โอกาสที่ทําให้ติดเชื้อมีความเสี่ยงสูงมาก เมื่อติดเชื้อแล้วกว่าจะทราบความจริงก็เป็นผู้ป่วยเอดส์แล้ว นอกจากส่งผลด้านร่างกาย ด้ายจิตใจ และส่งผลต่อครอบครัว
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้การเป็นคนดีที่มีศีลธรรม ข้อปฏิบัติ คือ การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทศีลข้อนี้เมื่อดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ําดี มะเร็งปอด เป็นต้น
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไปตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์”